การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ

1. NS

1.1. สาเหตุ

1.1.1. เกิดจากกระบวนการสร้างภูมิคุ้มกันและพยาธิสภาพอื่นๆเช่น SLE,HIV

1.1.2. หลอดเลือดฝอยถูกทำลายทำให้การซึมผ่านของหลอดเลือดฝอยไตเพิ่มขึ้น

1.1.3. บี๋การสูญเสียโปรตีนทางปัสสาวะจำนวนมาก

1.2. อาการและอาการแสดง

1.2.1. Edema

1.2.2. Hyperlipidemia

1.2.3. Protienuria

1.2.4. Hypoalbuminemia

1.3. การวินิจฉัย

1.3.1. ตรวจร่างกาย

1.3.1.1. Pitting edema

1.3.1.2. Pallor

1.3.1.3. Ascites

1.3.2. Lab

1.3.2.1. Serum protein ต่ำ

1.3.2.2. Serum cholesterol สูง

1.4. การพยาบาล

1.4.1. ลด Na

1.4.2. รับประทานโปรตีนปกติ

1.4.3. จัดท่านอนศีรษะสูง

1.4.4. ดูแลผิวหนังป้องกันการติดเชื้อ

1.4.5. ดูแลให้พักผ่อนให้เพียงพอ

2. Phimosis in children

2.1. สาเหตุ

2.1.1. Record I/O

2.1.2. เกิดจากความผิดปกติตั้งแต่กำเนิด

2.2. อาการและอาการแสดง

2.2.1. ปัสสาวะลำบาก

2.2.2. ปัสสาวะน้อย ไม่พุ่ง

2.2.3. หนังหุ้มปลายไวยวัเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบ

2.3. การพยาบาล

2.3.1. ทำความสะอาดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ หากใช้ยาสเตียรอยด์แล้วไม่ได้ผลให้

3. อาการและอาการแสดง

3.1. Hematuria,hypertension ,edema ,oliguria, protienuria or albuminuria

4. UTI

4.1. สาเหตุ

4.1.1. การติดเชื้อแบคทีเรีย

4.1.1.1. Buyer Profile

4.1.1.1.1. Title

4.1.1.1.2. Industry

4.1.1.1.3. Geography

4.1.1.1.4. Business Size

4.1.1.2. Influencer Profile

4.1.1.3. User Profile

4.1.1.4. What do customers want and need?

4.1.1.5. What business problems do each of these customers have?

4.1.2. การไหลย้อนของปัสสาวะ

4.2. อาการและอาการแสดง

4.2.1. ทารกแรกเกิด

4.2.1.1. ปัสสาวะขัดมีกลิ่นเหม็นปวดท้องตัวเหลืองมีอาการชักปวดเบ่งปัสสาวะบ่อย

4.2.2. เด็กวัยหัดเดิน

4.2.2.1. มีไข้สูง ไม่รับประทานอาหาร อาเจียน ท้องเสีย ปัสสาวะขัด ปวดเบ่ง ถ่ายปัสสาวะบ่อย

4.2.3. เด็กวัยก่อนเรียน

4.2.3.1. ถ่ายปัสสาวะลำบาก กลั้นปัสสาวะไม่ได้ อาจมีอาการชัก

4.3. การวินิจฉัย

4.3.1. ตรวจปัสสาวะพบ WBC

4.3.2. นิวทางเดินปัสสาวะ

4.4. การพยาบาล

4.4.1. ดูแลให้ดื่มน้ำวันละ 2000-3000 ml

4.4.2. กระตุ้นให้ปัสสาวะ2-3 ชั่วโมง

4.4.3. ดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์

5. AGN

5.1. สาเหตุ

5.1.1. การติดเชื้อ beta-hemolytic streptococcus grop A

5.1.2. การติดเชื้อ ทำให้เกิดการอักเสบของหน่วยไต จึงทำให้ไตเสียหน้าที่การกรองของเสีย และการดูดกลับสารน้ำทำให้ร่างกายขับปัสสาวะออกได้น้อย มีของเสียคั่งในเลือดมากกว่าปกติ

5.2. การวินิจฉัย

5.2.1. ซักประวัติ

5.2.1.1. Non-pitting edema

5.2.2. ตรวจร่างกาย

5.2.2.1. Hypertension

5.2.3. Lab

5.2.3.1. ตรวจปัสสาวะ

5.2.3.1.1. พบRBC

5.2.3.1.2. พบ WBC

5.2.3.1.3. พบprotein

5.2.3.2. ตรวจเลือด

5.2.3.2.1. BUN สูง

5.2.3.2.2. Creatinin สูง

5.3. การพยาบาล

5.3.1. สังเกตุอาการบวมให้จำกัดน้ำดื่ม

5.3.2. ลดอาหารที่มีโซเดียมสูง

5.3.3. รับประทานอาหาร high protein