การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. Urinary tract infection

1.1. สาเหตุ

1.1.1. Escherichia Coli

1.1.2. จากการกลั้นปัสสาวะ

1.1.3. กระเพาะปัสสาวะหดตัวไม่ได้ดี (Neurogenic bladder)

1.1.4. นิ่ว

1.2. อาการทางคลินิก

1.2.1. เด็กเล็กอายุตํ่ากว่า 2 ปี

1.2.1.1. ไข้

1.2.1.2. ตัวเหลือง

1.2.1.3. อาเจียน

1.2.1.4. เบื่ออาหาร

1.2.1.5. ท้องเดิน

1.2.2. เด็กอายุ 2-14 ปี

1.2.2.1. ไข้

1.2.2.2. ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบ

1.2.2.3. ปัสสาวะมีกลิ่น

1.2.2.4. ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง

1.2.2.5. ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

1.3. หลักการวินิจฉัยโรค

1.3.1. จากการซักประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

1.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ

1.3.2.2. การตรวจทางรังสีวิทยา

1.4. ภาวะแทรกซ้อน

1.4.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

1.4.2. ความดันโลหิตสูง

1.4.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

1.5. หลักการรักษา

1.5.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

1.5.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย

1.5.3. ค้นหาและแก้ไขความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ

1.5.4. ให้นํ้าปริมาณมาก ให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ

1.5.5. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

1.5.6. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ

1.6. หลักการพยาบาล

1.6.1. ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

1.6.2. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

1.6.3. เสริมสร้างความแข็งแรง

1.6.4. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

1.6.5. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

2. Phimosis in children

2.1. ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (foreskin , prepuce) กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้

2.2. อาการผิดปกติต่างๆ

2.2.1. ปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

2.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

2.2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย (balanoposthitis)

2.2.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง (true phimosis)

2.2.5. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน(urinary tract infection , UTI)

2.2.6. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ (preputial adhesions)

2.2.7. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้ (paraphimosis)

2.3. การรักษา

2.3.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

2.3.1.1. ใช้ครีม steroid

2.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ( circumcision )

2.3.2.1. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.3.2.1.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

2.3.2.1.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

2.4. ภาวะแทรกซ้อนของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

2.4.1. เลือดออกบริเวณผ่าตัด

2.4.2. การอักเสบติดเชื้อ

2.5. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด

2.5.1. เตรียมตัวหยุดโรงเรียน 3-7 วัน

2.5.2. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร ถ้าทำโดยการฉีดยาชา

2.5.3. ทำแผลทุกวัน

2.5.4. งดยาต้านการอักเสบ [NSAID]

2.5.5. เลือกกางเกงในสีเข้ม

2.5.6. เตรียมกางเกงชั้นในหลวมๆสำหรับใส่หลังผ่าตัด

2.5.7. เตรียมอุปกรณ์ที่ทำแผล

2.5.7.1. น้ำเกลือล้างแผล เบตาดีน ผ้าก๊อส ไม้พันสำลี พลาสเตอร์ปิดแผล กอสกันติดแผล อาจใช้ Sofatulle หรือ ER gotulle

2.6. การดูแลหลังผ่าตัด

2.6.1. 24 ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าก๊อสพันแผลและกดตำแหน่งที่มีเลือดออกไว้ 10 นาทีหรือจนกว่าเลือดจะหยุด

2.6.2. ใช้แผ่นประคบเย็น

3. (Nephrotic syndrome)

3.1. กลุ่มอาการ

3.1.1. โปรตีนในปัสสาวะสูง

3.1.2. โปรตีนในเลือดตํ่า โดยเฉพาะอัลบูมิน

3.1.3. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม

3.1.4. ไขมันในเลือดสูง

3.2. สาเหตุ

3.2.1. แบ่ง2ชนิด

3.2.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

3.2.1.1.1. Idiopathic NS

3.2.1.1.2. Congenital nephrosis / Congenital NS

3.2.1.1.3. Acute post infection glomerulonephritis, chronic glomerulonephritis

3.2.1.1.4. Idiopathic NS

3.2.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ (Secondary nephrotic syndrome)

3.2.1.2.1. โรคติดเชื้อ

3.2.1.2.2. สารพิษ

3.2.1.2.3. ภูมิแพ้

3.2.1.2.4. โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด

3.2.1.2.5. เนื้องอกชนิดร้าย

3.2.1.2.6. SLE, Anaphylactoid purpura, Multiple myeloma

3.3. อาการทางคลินิก

3.3.1. บวมรอบหนังตา (Periorbital edema) บวมทั่วตัว(Generalized edema or Anasarca) ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม อาการบวมจะเป็นๆ หายๆ บางรายอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย แน่นท้อง หายใจลำ บาก ผิวหนังซีด

3.4. หลักการวินิจฉัยโรค

3.4.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

3.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.4.2.1. การตรวจปัสสาวะ

3.4.2.2. การตรวจเลือด

3.5. ภาวะแทรกซ้อน

3.5.1. การติดเชื้อ

3.5.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

3.6. หลักการรักษา

3.6.1. ลด Permeability ที่ Glomerular basement membrane

3.6.2. ป้องกันและควบคุมสภาวะโภชนาการ

3.6.3. ลดอาการบวมหรือควบคุม

3.6.4. เพิ่มโปแตสเซียม เพิ่มวิตามิน

3.6.5. ป้องกันการติดเชื้อ

3.7. หลักการพยาบาล

3.7.1. ควบคุมการติดเชื้อ

3.7.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

3.7.3. ควบคุมอาการบวม

3.7.4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia

3.7.5. ลดการสูญเสียพลังงาน

3.7.6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการ

3.7.7. ประคับประคองด้านจิตใจ

3.7.8. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

4. (Acute glomerulonephritis)

4.1. สาเหตุ

4.1.1. การติดเชื้อPharyngitis จาก - Streptococcus gr. A. (Post-streptococcal glomerulonephritis) หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆในเด็กจะพบได้บ่อยคือ Acute post-streptococoal glomerulonephritis

4.2. อาการทางคลินิก

4.2.1. บวม

4.2.2. ซีด

4.2.3. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม

4.2.4. กระสับกระส่ายและอ่อนเพลีย

4.2.5. ปวดศีรษะ

4.2.6. ความดันโลหิตสูงเล็กน้อยถึงสูงมาก

4.3. หลักการวินิจฉัยโรค

4.3.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

4.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ

4.3.2.2. การตรวจเลือด

4.3.2.3. การเพาะเชื้อจาก Pharynx

4.3.2.4. EKG และการตรวจทางเอกซเรย์

4.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.1. Hypertensive encephalopathy

4.4.2. Acute cardiac decompensation

4.4.3. Acute renal failure

4.5. หลักการพยาบาล

4.5.1. ควบคุมการติดเชื้อ

4.5.2. ควบคุมอาการบวม

4.5.3. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง

4.5.4. ลดความดันโลหิต

4.5.5. สังเกตการเกิดภาวะแทรกซ้อน

4.5.6. เสริมสร้างความแข็งแรง

4.5.7. อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

4.5.8. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

4.5.9. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน

4.6. หลักการรักษา

4.6.1. เพื่อลดความดันโลหิตและอาการบวม

4.6.1.1. - ให้นอนพักและให้ยาลดความดันโลหิต

4.6.1.2. - ให้ยาขับปัสสาวะประเภท Furosemide (Lasix)

4.6.1.3. ควบคุมอาหารและนํ้า โดยให้อาหารที่มีโซเดียม และโปแตสเซียมตํ่า โปรตีนปริมาณปกติ แต่ลดโปรตีนเมื่อ BUNสูง จำกัดนํ้า

4.6.1.4. ชั่งนํ้าหนักและวัดความดันโลหิตทุกวัน

4.6.2. เพื่อควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ

4.6.3. ควบคุมหรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน

5. นางสาววรรณพร ราชประโคน เลขที่73 รหัส 592201075 รุ่นที่25