1. Urinary tract infection
1.1. อาการทางคลินิก
1.1.1. เด็กเล็กตํ่ากว่า 2 ปี
1.1.1.1. อาการไม่แน่นอน เช่น อาจมีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน เลี้ยงไม่โต
1.1.2. เด็กอายุ 2-14 ปี
1.1.2.1. ไข้ ปัสสาวะบ่อยและปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง อาจถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด
1.2. สาเหตุและพยาธิสภาพ
1.2.1. ภูมิต้านทานเฉพาะที่ดังกล่าวลดลงทำ ให้แบคทีเรียรวมเป็นกลุ่ม (Colonization) ที่บริเวณส่วนปลายของท่อปัสสาวะ
1.2.2. เชื้อแพร่ขึ้นบนไปตามทางเดินปัสสาวะ เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดและเข้าสู่หลอดนํ้าเหลืองบริเวณใกล้เคียง ทำ ให้เกิดการอักเสบของระบบปัสสาวะ
1.2.3. การอุดกั้นที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของกระเพาะปัสสาวะ ทำ ให้ปัสสาวะไหลไม่สะดวก
1.2.4. การมีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ
1.3. ภาวะแทรกซ้อน
1.3.1. 1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย
1.3.2. 2. ความดันโลหิตสูง
1.3.3. 3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
1.4. หลักการรักษา
1.4.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ
1.4.2. ให้นํ้าปริมาณมากให้นํ้าโดยการดื่ม และ/หรือทางหลอดเลือดดำ
1.4.3. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ
1.4.4. ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
1.5. หลักการพยาบาล
1.5.1. -ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ -สังเกตภาวะแทรกซ้อน -เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโต - อำนวยความสุขสบายของร่างกาย -สอนแนะนำด้านสุขศึกษา
2. Phimosis in children
2.1. ความหมาย
2.1.1. ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้
2.2. อาการผิดปกติต่างๆ
2.2.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ
2.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง )ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย
2.2.3. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมาก หรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆไม่พุ่ง มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน
2.2.4. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
2.2.5. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศติดหัวอวัยวะเพศรูดแล้วเจ็บ
2.2.6. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้
2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด
2.3.1. การรักษา
2.3.1.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง
2.3.1.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
2.3.2. ข้อห้าม
2.3.2.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ
2.3.2.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง
2.3.3. ภาวะแทรกซ้อน
2.3.3.1. -การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด -การอักเสบติดเชื้อเป็น
2.3.4. การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด
2.3.4.1. หยุดโรงเรียน 3-7 วัน
2.3.4.2. ไม่ต้องงดน้ำและอาหาร ถ้าทำโดยการฉีดยาชา
2.3.4.3. งดยาต้านการอักเสบ
2.3.4.4. เลือกกางเกงในสีเข้ม
2.3.4.5. เตรียมกางเกงชั้นในหลวมๆสำหรับใส่หลังผ่าตัด
2.3.5. การดูแลหลังผ่าตัด
2.3.5.1. ทำแผลทุกวัน วันละ 1-2 ครั้ง
2.3.5.2. ปกติแผลจะหายประมาณ 1-3 อาทิตย์
2.3.5.3. ใน 24 ชั่วโมงแรกถ้ามีเลือดออกให้ใช้ผ้าก๊อสพันแผลและกดตำแหน่งที่มีเลือดออกไว้ 10 นาทีหรือจนกว่าเลือดจะหยุด
2.3.5.4. ในวันแรกหลังผ่าตัดอาจใช้แผ่นประคบเย็น
2.3.5.5. ระวังเวลาปัสสาวะ อย่าให้ถูกผ้าก๊อสพันแผล
3. Nephrotic syndrome
3.1. สาเหตุ
3.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต
3.1.1.1. 1.1 Idiopathic NS เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็ก
3.1.1.2. 1.2 Congenital nephrosis / Congenital NS
3.1.1.3. 1.3 Acute post infection glomerulonephritis
3.1.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ
3.1.2.1. โรคติดเชื้อ สารพิษ ภูมิแพ้ โรคของระบบหายใจและหลอดเลือด การอุดตันของหลอดเลือดของไต หัวใจวาย เนื้องอกชนิดร้าย โรคอื่น ๆ เช่น Collagen disease
3.2. ประกอบด้วย
3.2.1. 1. โปรตีนในปัสสาวะสูง
3.2.2. 2. โปรตีนในเลือดตํ่า โดยเฉพาะอัลบูมิน
3.2.3. 3. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม
3.2.4. 4. ไขมันในเลือดสูง
3.3. พยาธิสรีรภาพ
3.3.1. มีความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane โดยมีการเพิ่ม permeability ทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้นส่วนใหญ่จะเป็น อัลบูมิน และอิมมูโนโกลบูลิน
3.4. อาการทางคลินิก
3.4.1. มีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว บวมทั่วตัว ปัสสาวะจะน้อยลงและสีเข้ม มักจะไม่พบความดันโลหิตสูง หรืออาจสูงหรือตํ่ากว่า
3.5. ภาวะแทรกซ้อน
3.5.1. 1. การติดเชื้อ
3.5.2. 2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง
3.5.3. 3. การอุดตันของหลอดเลือด
3.5.4. -ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ การแตกของผิวหนัง อาการบวม Hypovolemia และ Hypokalemia -ลดการสูญเสียพลังงาน เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต -ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว -เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน
3.6. หลักการพยาบาล
3.6.1. 1.ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ 2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง 3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม 4. ป้องกัน Hypovolemia และ Hypokalemia 5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทาํ งานของหัวใจ และลดอาการ Dyspnea ที่อาจมี 6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย 7. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว 8. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน
4. Acute glomerulonephritis
4.1. สาเหตุ
4.1.1. เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆ ของร่างกายที่พบบ่อยคือ Pharyngitis หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆในเด็ก
4.2. พยาธิสรีรภาพ
4.2.1. มีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้นทำ ให้หลอดเลือดฝอยใน Glomerular ถูกทำลายโดยสารสำคัญสองชนิดคือ lysozyme และ Anaphylatoxin ทำให้การกรองของเสียและการดูดซึมกลับไม่เป็นไปตามปกติ เกิดอาการคั่งของนํ้าและของเสีย
4.3. อาการทางคลินิก
4.3.1. เด็กจะเริ่มมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมขาและท้อง ชนิดกดไม่บุ๋มและบวม ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม ความดันโลหิตสูงเล็กน้อยถึงสูงมาก
4.4. ภาวะแทรกซ้อน
4.4.1. 1. Hypertensive encephalopathy
4.4.2. 2. Acute cardiac decompensation
4.4.3. 3. Acute renal failure
4.5. หลักการพยาบาล
4.5.1. เหมือนกับ Nephrotic syndrome แค่เพิ่มการ ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูงและ ลดความดันโลหิต
4.6. หลักการรักษา
4.6.1. ไม่มีการรักษาเฉพาะ แต่ใช้การรักษา แบบประคับประคอง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน