การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Plan your projects and define important tasks and actions

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. Nephrotic syndrome

1.1. สาเหตุ

1.1.1. หน่วยไตอักเสบเรื้องรัง

1.1.2. เกิดร่วมกับโรคอื่นๆ

1.1.2.1. โรคของเนื้อเยื่อคอนเนคตีฟ

1.1.2.1.1. SLE

1.1.2.1.2. Rheumatic arthritis

1.1.2.2. โรคที่เกิดกับหลายระบบของร่างกาย

1.1.2.2.1. Polyarteritis

1.1.2.3. โรคติดเชื้อมักเกิดตามหลังต่อมทอนซิลอักเสบ 1-4 สัปดาห์ (โดยเฉลี่ย 10-14วัน) หรือพบในเด็กอายุตํ่ากว่า 5 ขวบ ที่เป็นแผลพุพอง หรือฝีตามตัว

1.1.2.4. จากแบคทีเรีย

1.1.2.5. จากปาราสิต

1.1.2.6. จากไวรัส

1.1.2.7. โรคทางเมตาบอลิซึม

1.1.2.8. เนื้องอก

1.1.2.8.1. เนื้องอกของต่อมนํ้าเหลือง

1.2. อาการ

1.2.1. อาการบวมเป็นอาการสำคัญที่จะสังเกตเห็นได้

1.2.2. อาการซีด อาการซีดจะมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับว่าไตเสียหน้าที่มากน้อยเพียงใด

1.2.3. อาการทางติดเชื้อ

1.2.3.1. เป็นฝีพุพองตามบริเวณผิวหนังและที่อื่นๆ

1.2.4. อาการเบื่ออาหารคลื่นไส้ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย

1.2.5. ความดันโลหิตอาจสูงหรือตํ่าได้

1.3. ภาวะแทรกซ้อน

1.3.1. โรคนี้ทำให้ภูมิต้านทานโรคตํ่าจึงเกิดโรคติดเชื้อได้ง่าย

1.3.1.1. ปอดบวม

1.3.1.2. ฝีพุพองตามผิวหนัง

1.3.2. เป็นอยู่นานๆ อาจเกิดภาวะไตวาย

1.4. การรักษา

1.4.1. อาหาร ให้อาหารที่มีโปรตีนสูง

1.4.2. ยา ให้ยาขับปัสสาวะ

1.4.3. ป้องกันการติดเชื้อ

2. Acute glomerulonephritis

2.1. สาเหตุ

2.1.1. ไตอักเสบเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ อาจเป็นผลมาจากกรรมพันธุ์ หรือบางครั้งอาจไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด

2.1.2. แต่มีปัจจัยบางประการที่กระตุ้นให้เกิดการอักเสบในหน่วยไตได้ มีดังนี้

2.1.2.1. การอักเสบที่เป็นผลเกี่ยวเนื่องมาจากการติดเชื้อ

2.1.2.2. การอักเสบจากโรคทางภูมิคุ้มกัน

2.1.2.3. การอักเสบจากกลุ่มโรคหลอดเลือดอักเสบ

2.2. อาการ

2.2.1. Hematuria

2.2.2. ปัสสาวะเป็นฟองเนื่องจากมีโปรตีนส่วนเกินปนออกมาในปัสสาวะ

2.2.3. อาการที่ปรากฏตามร่างกาย

2.2.3.1. อ่อนล้า

2.2.3.2. ปวดข้อ

2.2.3.3. เป็นผื่นคัน

2.2.3.4. มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ

2.3. ภาวะแทรกซ้อน

2.3.1. กลายเป็นโรคไตเรื้อรัง

2.3.2. ไตวายเฉียบพลัน

2.3.3. โปรตีนรั่วในปัสสาวะ

2.3.4. ความดันโลหิตสูง

2.4. การรักษา

2.4.1. ลดความดันดันโลหิตและอาการบวม

2.4.1.1. ให้นอนพักและให้ยาลดความดันโลหิต

2.4.1.2. ให้ยาขับปัสสาวะประเภท Furosemide

2.4.1.3. ควบคุมอาหาร

2.4.1.3.1. โซเดียมและโพแทสเซียมต่ำ

2.4.1.3.2. ลดโปรตีนเมื่อ BUN สูง

2.4.1.3.3. จำกัดปริมาณน้ำ

2.4.1.4. ชั่งน้ำหนักและวัดความดันโลหิตทุกวัน

2.4.2. ควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ

2.4.3. ควบคุม และป้องกันภาวะแทรกซ้อน

3. Phimosis in children

3.1. Budget

3.1.1. ความผิดปกติแต่กำเนิด

3.2. อาการ

3.2.1. ปลายองคชาตและหนังหุ้มปลายองคชาตอักเสบ ทำให้มีอาการบวมแดงและรู้สึกเจ็บปวด

3.2.2. ปัสสาวะไม่ออกหรือปัสสาวะลำบาก

3.2.3. รู้สึกเจ็บปวดขณะปัสสาวะ

3.2.4. รู้สึกเจ็บปวดเมื่อองคชาตแข็งตัว

3.3. การรักษา

3.3.1. รักษาโดยการประคับประคอง

3.3.2. Circumcision

4. Urinary tract infection

4.1. สาเหตุ

4.1.1. ภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เกิดขึ้นเมื่อแบคทีเรียเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ โดยผ่านทางท่อปัสสาวะ โดยส่วนใหญ่โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มักเกิดจากเชื้อ E. coli (อี. โคไล) และแบคทีเรียอื่น ๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร

4.2. ภาวะแทรกซ้อน

4.2.1. 1. เกิดการติดเชื้อซ้ำ 2. เกิดความเสียหายต่อไตอย่างถาวร 3. ทำให้ท่อปัสสาวะในผู้ชายตีบแคบลง 4. อาจทำให้เกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) โดยเฉพาะในกรณีที่ติดเชื้อบริเวณไต (urosepsis) ซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต

4.3. การรักษา

4.3.1. ลดการติดเชื้อโดยการใช้ยาปฎิชีวนะป้องกันเนื้อไตถูกทำลาย และป้องกันไตวาย

4.3.2. ให้น้ำปริมาณมาก

4.3.2.1. การดื่ม

4.3.2.2. การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

4.3.3. บรรเทาอาการปวดแสบ