การพยาบาลเด็กี่มีปัญหาสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กี่มีปัญหาสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กี่มีปัญหาสุขภาพระบบทางเดินปัสสาวะ

1. กลุ่มอาการโรคไต (Nephrotic syndrome)

1.1. พบมากที่สุดในเด็กวัยก่อนเรียน และพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง

1.1.1. โปรตีนในปัสสาวะสูง (Hyperalbuminuria, Massive proteinuria)

1.1.2. Hypoproteinemia

1.1.3. Hypoalbuminemia

1.1.4. บวมทั่วตัวชนิดกดบุ๋ม (Pitting edema

1.2. แบ่งตามสาเหตุได้ 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ

1.2.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

1.2.1.1. Idiopathic NS พบมากที่สุด

1.2.1.2. Congenital nephrosis

1.2.1.3. Acute post infection glomerulonephritis

1.2.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่น ๆ (Secondary nephrotic syndrome)

1.2.2.1. โรคติดเชื้อ

1.2.2.2. สารพิษ

1.2.2.3. ภูมิแพ้

1.2.2.4. Renal vein thrombosis

1.3. อาการทางคลินิก

1.3.1. มีนํ้าหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

1.3.2. บวมรอบหนังตา (Periorbital edema

1.3.3. บวมกดบุ๋ม

1.3.4. อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร

1.3.5. ปัสสาวะจะน้อยลงสีเข้ม

1.3.6. ความดันโลหิตสูง

1.4. หลักการวินิจฉัยโรค

1.4.1. ประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

1.4.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.4.2.1. การตรวจปัสสาวะหาโปรตีน

1.4.2.2. การตรวจเลือด : ซีรั่มโปรตีน

1.4.2.3. (Renal biopsy)

1.5. ภาวะแทรกซ้อน

1.5.1. การติดเชื้อ

1.5.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง (Circulatory insufficiency

1.5.3. การอุดตันของหลอดเลือด(Thromboembolism)

1.6. หลักการรักษา

1.6.1. ให้ยาประเภทสเตียรอยด์

1.6.2. ป้องกันและควบคุมสภาวะโภชนาการ

1.6.3. ลดอาการบวมหรือควบคุม

1.6.4. เพิ่มโแตสเซียม เพิ่มวิตามิน

1.6.5. ป้องกันการติดเชื้อ

1.7. หลักการพยาบาล

1.7.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

1.7.2. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวมป้องกัน Hypovolemia

1.7.3. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการ

2. ไตอักเสบเฉียบพลัน Acute glomerulonephritis

2.1. สาเหตุ

2.1.1. Pharyngitis จาก - Streptococcus gr. A

2.1.2. Acute post-streptococoal glomerulonephritis

2.2. อาการทางคลินิก

2.2.1. อาการบวมที่หน้า ขอบตา

2.2.2. บวมกดไม่บุ๋ม

2.2.3. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม

2.2.4. ความดันโลหิตสูงเล็กน้อยถึงสูงมาก

2.3. หลักการวินิจฉัยโรค

2.3.1. จากประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

2.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

2.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ : พบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว Casts

2.3.2.2. การตรวจเลือด : ระดับ Na+, K+ , Cl -

2.4. ภาวะแทรกซ้อน

2.4.1. Hypertensive encephalopathy

2.4.2. Acute cardiac decompensation

2.4.3. Acute renal failure

2.5. หลักการรักษา

2.5.1. เพื่อลดความดันโลหิตและอาการบวม

2.5.2. เพื่อควบคุม และป้องกันการติดเชื้อ

2.5.3. ควบคุม หรือป้องกันภาวะแทรกซ้อน อาจให้ยาระงับชัก

2.6. หลักการพยาบาล

2.6.1. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

2.6.2. ป้องกันภาวะโปแตสเซียมสูง (Hyperkalemia)

2.6.3. ลดความดันโลหิต

3. นางสาว กมลชนก แก้วมุ้ย เลขที่ 3 รุ่นที่ 25

4. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection)

4.1. สาเหตุ

4.1.1. Escherichia Coli

4.1.2. ภูมิต้านทานเฉพาะที่ดังกล่าวลดลงทำ

4.1.3. การกลั้นปัสสาวะ

4.2. อาการทางคลินิก

4.2.1. ตํ่ากว่า 2 ปี อาการไม่แน่นอน

4.2.2. อายุ 2-14 ปี อาจจะพบอาการไข้ ปัสสาวะบ่อย

4.2.3. ปัสสาวะมีกลิ่น ปวดท้องน้อยกดเจ็บ

4.3. หลักการวินิจฉัยโรค

4.3.1. จากการซักประวัติ อาการและการตรวจร่างกาย

4.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.3.2.1. การตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดขาว

4.3.2.2. การตรวจทางรังสีวิทยา : Voiding cystourethrogram

4.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.1. ไตเสื่อมหน้าที่เกิดภาวะ Renal tubular acidosisและไตวาย

4.4.2. ความดันโลหิตสูง

4.4.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

4.5. หลักการรักษา

4.5.1. ลดการติดเชื้อโดยการให้ยาปฏิชีวนะ

4.5.2. ป้องกันเนื้อไตถูกทำ ลาย และป้องกันไตวาย

4.5.3. บรรเทาอาการปวดแสบในการถ่ายปัสสาวะ

4.6. หลักการพยาบาล

4.6.1. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

4.6.2. เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

4.6.3. สอนแนะนำ ด้านสุขศึกษา

5. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด (Phimosis in children)

5.1. พบบ่อยในเด็กเพศชาย หมายถึงภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

5.2. อาการผิดปกติ

5.2.1. มีอาการปัสสาวะลำบาก

5.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง (ballooning)

5.2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบ

5.2.4. urinary tract infection , UTI

5.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด (Pathological phimosis

5.3.1. ไม่ควรกระทำอย่างแรงเพราะทำให้เจ็บ มีเลือดออก

5.3.2. ขณะปัสสาวะหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง

5.3.3. เด็กผู้ชายทุกคนควรได้รับการสอนการทำความสะอาด

5.3.4. ล้างทำความสะอาดอวัยวะเพศในขณะอาบน้ำทุกครั้งด้วยสบู่และน้ำก็เพียงพอ

5.4. การรักษาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เปิด

5.4.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

5.4.1.1. ใช้ครีม steroid ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไป ทา

5.4.1.2. พร้อมกับพ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงมาแล้วรูดกลับ ทำทีละน้อย ขณะอาบน้ำ

5.4.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ circumcision

5.4.2.1. เป็นวิธีการักษาหลังจากไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการอื่นแล้ว

5.5. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

5.5.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ ได้แก่ hypospadias , chordee

5.5.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

5.6. ภาวะแทรกซ้อน

5.6.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

5.6.2. ปลายอวัยวะเพศได้รับภยันตรายจนขาด

5.6.3. เกิดท่อปัสสาวะตีบตัน