มาตราฐานการบัญชีภาครัฐฉบับที่ ๓ เรื่องนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
มาตราฐานการบัญชีภาครัฐฉบับที่ ๓ เรื่องนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด by Mind Map: มาตราฐานการบัญชีภาครัฐฉบับที่ ๓ เรื่องนโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด

1. ๓๐.หน่วยงานต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อดังต่อไปนี้

1.1. (๑) ชื่อฉบับที่นํามาถือปฏิบัติ

1.2. (๒) การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

1.3. (๓) ลักษณะการเปลี่ยนแปลง

1.4. (๔) คําอธิบายในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง

1.5. (๕) ข้อกําหนดในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง

1.6. (๖) จํานวนเงินของรายการปรับปรุงที่กระทบต่อรายการ

1.7. (๗) จํานวนเงินของรายการปรับงบการเงินงวดก่อน

1.8. (๘) หากไม่สามารถปฏิบัติตามข้อ (๑) และ (๒) ต้องเปิดเผยสถานการณ์ที่นําไปสู่การเกิดขึ้นและรายละเอียด การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเริ่มเมื่อใดและอย่างไร

2. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

2.1. ๑๔.ต้องเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ถ้าการเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งดังนี้

2.1.1. ๑) เกิดจากข้อกำหนดมาตรฐานการบัญชีภาครัฐ

2.1.2. ๒) ทำให้งบการเงินน่าเชื่อถือ

2.2. ๑๕.ผู้ใช้งบการเงินมีความต้องการจะเปรียบเทียบงบการเงิน

2.3. ๑๖.การเปลี่ยนแปลงจากเกณฑ์การบัญชี.

2.4. ๑๗. คือการเปลี่ยนวิธีปฏิบัติ รับรู้ หรือวัดมูลค่าของรายการ เหตุการณ์ หรือ สถานการณ์

2.5. ๑๘.กรณีไม่เป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

2.5.1. ๑) มีเนื้อหาแตกต่าง จากรายการและเหตุการณ์ ที่เคยเกิดขึ้นมาก่อน

2.5.2. ๒) ไม่เคยเกิดขึ้น มาก่อน หรือเคยเกิดขึ้นแต่ไม่มีสาระสำคัญ

2.6. ๑๙. บันทึกมูลค่าสินทรัพย์ด้วยราคาที่ตีใหม่ ตามฉบับที่ ๑๗ หรือ ฉบับที่ ๓๑ ถือเป็นบัญชีการปรับมูลค่า

2.7. ๒๐. ย่อหน้าที่ ๒๑-๓๓ ไม่ถือปฏิบัติกับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี ที่กล่าวไว้ในย่อหน้าที่ ๑๙

3. การเปิดเผยข้อมูล

3.1. ๓๑.การเปลี่ยนแปลงเกิดผลกระทบต่องวดบัญชีปัจจุบันหรืองวดบัญชีก่อน ต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้

3.1.1. ๑)ลักษณะของการเปลี่ยนแปลง

3.1.2. ๒)เหตุผล

3.1.3. ๓)จำนวนเงินของรายการปรับปรุงที่กระทบต่อรายการแต่ละบรรทัดในงบการเงิน

3.1.4. ๔)จำนวนเงินของรายการปรับงบการเงินงวดก่อน

3.1.5. ๕)เปิดเผยสถานการณ์และรายละเอียดของการเปลี่ยนแปลงเริ่มเมื่อใดและอย่างไร

3.1.6. งบการเงินงวดถัดไปไม่ต้องเปิดเผยข้อมูลนี้อีก

3.2. ๓๒.เมื่อนํามาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหม่ที่ประกาศใช้แล้วแต่ยังไม่มีผลบังคับใช้มาถือปฏิบัติ ต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อดังต่อไปนี้

3.2.1. ๑)ข้อเท็จจริงที่หน่วยงานยังไม่นํามาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหม่มาปฏิบัติ

3.2.2. ๒)ข้อมูลที่ทราบหรือข้อมูลที่ประมาณได้อย่างสมเหตุสมผลที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบ

3.3. ๓๓.เปิดเผยข้อมูลทุกข้อดังต่อไปนี้

3.3.1. (๑) ชื่อมาตรฐานการบัญชีภาครัฐฉบับใหม่

3.3.2. (๒) ลักษณะและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง

3.3.3. (๓) วันที่ที่มีผลบังคับใช้

3.3.4. (๔) วันที่ที่ถือปฏิบัติ

3.3.5. (๕) ข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้

3.3.5.1. ๑)คำอธิบายถึงผลกระทบต่องบการเงินที่คาดว่าจะเกิดขึ้น

3.3.5.2. ๒)ไม่สามารถประมาณจำนวนเงินของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ ให้ระบุข้อเท็จจริงดังกล่าว

4. ข้อจํากัดที่ทําให้ไม่สามารถปรับงบการเงินย้อนหลังได้

4.1. ๔๕.ไม่สามารถระบุจํานวนเงินของผลกระทบที่เกิดขึ้นในแต่ละงวด

4.2. ๔๖.ไม่สามารถระบุผลกระทบที่เกิดจากข้อผิดพลาดของแต่ละงวด

4.3. ๔๗. ไม่สามารถระบุผลกระทบสะสม ณ ต้นงวดบัญชีปัจจุบัน

4.4. ๔๘. ไม่รวมอยู่ในรายได้สูง/(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายของงวดที่พบข้อผิดพลาด

4.5. ๔๙. ไม่สามารถระบุจํานวนเงินของข้อผิดพลาด

4.6. ๕๐.แตกต่างจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี

5. การเปิดเผยข้อมูลเมื่อมีข้อผิดพลาดในงวดก่อน

5.1. ๕๑.ต้องเปิดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนี้

5.1.1. (๑) ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในงบงวดก่อน

5.1.2. (๒) จำนวนเงินของรายการแต่ละบรรทัดในงบที่ได้รับผลกระทบ

5.1.3. (๓) จำนวนเงินของรายการปรับปรุง ณ วันต้นงวดของงวดบัญชีแรกสุด

5.1.4. (๔) เปิดเผยสถานการณ์ ที่ไม่สามารถปรับงบการเงินย้อนหลังสำหรับงวดก่อนและรายละเอียดว่าแก้ไข ข้อผิดพลาดเมื่อใดและอย่างไร

6. กรณีที่ไม่สามารถนํานโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติย้อนหลังและกรณีที่ไม่สามารถปรับ งบการเงินย้อนหลังได้ในทางปฏิบัติ

6.1. ๕๒.เป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติที่จะปรับปรุงข้อมูลสำหรับงวดก่อนๆ

6.2. ๕๓.วัตถุประสงค์ งวดก่อน เหมือนกับ งวดปัจจุบัน

6.3. ๕๔.ต้องจําแนกข้อมูลดังต่อไปนี้ออกจากข้อมูลอื่น

6.3.1. (๑) ให้หลักฐานถึงกรณีแวดล้อมที่เป็นอยู่

6.3.2. (๒) ต้องอาศัยการประมาณการที่มีนัยสําคัญ

6.4. ๕๕. ไม่ใช้ข้อมูลที่ได้รับมาภายหลัง

6.5. ๕๖. ปฏิบัติเริ่มในหรือหลังวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นไป หากเริ่มก่อนเปิดเผยข้อเท็จจริง

7. การเปิดเผยข้อมูล

7.1. ๔๑. เปิดเผยลักษณะและจํานวนเงินของการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี เว้นแต่ไม่สามารถประมาณจํานวนเงินของผลกระทบได้

7.2. ๔๒.หากไม่สามารถประมาณจำนวนเงินของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้ หน่วยงานต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงดังกล่าว

8. ข้อผิดพลาด

8.1. ๔๓.เกิดขึ้นได้จากการรับรู้ การวัดมูลค่า การนำเสนอข้อมูล หรือการเปิดเผยองค์ ประกอบของงบการเงิน

8.2. ๔๔.แก้ไขข้อผิดพลาดที่มีสาระสำคัญของงวดก่อนโดยปรับย้อนหลังในงบการเงินฉบับแรกที่ได้รับการอนุมัติให้เผยแพร่

8.2.1. (๑)ปรับงบการเงินงวดก่อนเสมือนว่าข้อผิดพลาดได้ถูกแก้ไข

8.2.2. (๒)ปรับปรุงยอดคงเหลือยกมาต้นงวดของสินทรัพย์ หนี้สิน และสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุนในงบการเงินงวดแรกสุด

9. วัตถุประสงค์

9.1. ๑. เลือกและเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

9.1.1. ๑) วิธีปฏิบัติทางการบัญชี

9.1.2. ๒) ประมาณการทางบัญชี

9.1.3. ๓) การแก้ไขข้อผิดพลาด

9.2. ๒. ปฏิบัติตามมาตราฐานการบัญชีภาครัฐฉบับที่ ๑ ยกเว้นข้อกำหนดสำหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

10. ขอบเขต

10.1. ๓. ถือปฏิบัติเมื่อมีการเลือกและนำนโยบายการบัญชีมาปฏิบัติ

11. คำนิยาม

11.1. ๔.คำศัพท์

11.1.1. นโยบายการบัญชี หมายถึง หลักเกณฑ์ กฎ วิธีปฏิบัตินำมาใช้จัดทำและนำเสนองบการเงิน

11.1.2. การไม่สามารถทำได้ในทางปฏิบัติ ถ้าเข้าเงื่อนไขต่อไปนี้

11.1.2.1. (๑)ไม่สามารถระบุผลกระทบจากการนำนโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฏิบัติย้อนหลัง

11.1.2.2. (๒)ต้องใช้ข้อสมมติที่เกี่ยวกับความตั้งใจของฝ่ายบริหาร

11.1.2.3. (๓) ต้องใช้ประมาณการที่สำคัญ และเป็นไปไม่ได้ที่จะแยกข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประมาณการ(๑)และ(๒)ออกจากข้อมูลอื่น

11.1.2.3.1. หลักฐานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่มีอยู่ ณ วันที่รับรู้

11.1.2.3.2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประมาณการที่ควรมีอยู่ ณ วันที่อนุมัติ

11.1.3. การเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป หมายถึง การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีและการรับรู้ผลกระทบ

11.1.3.1. โดยที่เป็นการ

11.1.3.1.1. (๑) ใช้นโยบายการบัญชีใหม่

11.1.3.1.2. (๒) รับรู้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สำหรับงวดปัจจุบันและงวดอนาคต

12. ความมีสาระสำคัญ

12.1. ๕.การประเมินความมีสาระสำคัญต้องพิจารณาถึงผลกระทบที่มีต่อการตัดสินใจและการประเมินผลของผู้ใช้งบการเงิน

13. นโยบายการเลือกบัญชี

13.1. ๖. ต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของมาตรฐานการบัญชีภาครัฐสำหรับเรื่องนั้น

13.2. ๗.แสดงข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและน่าเชื่อถือ

13.3. ๘.แนวทางปฏิบัติทางบัญชีที่เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานการบัญชีภาครัฐถือเป็นข้อบังคับ

13.4. ๙.ในกรณีที่ไม่มีมาตรฐานการบัญชีภาครัฐโดยเฉพาะสําหรับรายการ เลือกใช้นโยบายมี่ส่งผลในงบการเงิน

13.4.1. ๑) เกี่ยวกับการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ

13.4.2. ๒) น่าเชื่อถือ

13.4.2.1. (๑) แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน กระเเสเงินสด

13.4.2.2. (๒) สะท้อนเนื้อหาเชิงเศรษฐกิจ

13.4.2.3. (๓) เป็นกลาง

13.4.2.4. (๔) ทำขึ้นตามหลักความระมัดระวัง

13.5. ๑๐.จะให้มีการพัฒนานโยบายการบัญชี

13.6. ๑๑.ต้องอ้างอิงและพิจารณาการใช้นโยบายตามลำดับ

13.6.1. ๑) เรื่องที่คล้ายคลึง

13.6.2. ๒) ที่ระบุในฉบับที่ 2 ไม่ขัดกับหลักการ

13.6.3. ๓) มาตรฐานการบัญชีภาครัฐระหว่างประเทศ

13.6.4. ๔) มาตรฐานการบัญชีของสภาวิชาชีพบัญชีฯ

13.6.5. (๕) ครบถ้วน

13.7. ๑๒.ความสม่ำเสมอของนโยบายการบัญชี

14. ความสม่ำเสมอของนโยบายการบัญชี

14.1. ๑๓.เลือกใช้และนํานโยบายการบัญชีมาปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ

15. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

15.1. ๒๑.ยกเว้นไม่สามารถนํามาปฏิบัติย้อนหลังกับงบการเงินงวดก่อน

15.1.1. ๑) หน่วยงานบันทึกตามที่กําหนดไว้ในวิธีปฏิบัติ

15.1.2. ๒) หากไม่ได้กําหนดวิธีปฏิบัติ หน่วยงานต้องปรับงบการเงินย้อนหลัง

15.2. ๒๒.การนํามาตรฐานที่ยังไม่ประกาศใช้มาถือปฏิบัติ ไม่ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงตามความสมัครใจ

15.3. ๒๓. กรณีที่ไม่มีมาตรฐานเฉพาะ หน่วยงานต้องบันทึกการเปลี่ยนแปลงและเปิดเผยว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายโดยสมัครใจ

16. การนำนโยบายการบัญชีใหม่มาถือปฎิบัติย้อนหลัง

16.1. ๒๔.ยกเว้นหน่วยงานไม่สามารถนํามาปฏิบัติย้อนหลังกับงบการเงินงวดก่อน เมื่อเปลี่ยนแปลง ผลกระทบที่ได้แสดงเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ เสมือนนํานโยบายมาถือปฏิบัติโดยตลอด

17. ข้อจำกัดที่ทำให้ไม่สามารถนำนโยบายการบัญชีมาถือปฎิบัติย้อนหลัง

17.1. ๒๕.เนื่องจากทำให้หน่วยงานต้องปรับงบการเงินย้อนหลัง

17.2. ๒๖.หน่วยงานต้องปรับยอดคงเหลือยกมาต้นงวดของสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน

17.3. ๒๗.ต้องปรับปรุงข้อมูลโดยใช้วิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไปนับจากวันแรก

17.4. ๒๘.หน่วยงานต้องนํางบการเงินงวดก่อนที่เป็นข้อมูลเปรียบเทียบถึงงวดในอดีตที่ไกลที่สุดที่สามารถทําได้

17.5. ๒๙.เนื่องจากไม่สามารถระบุจํานวนเงินของผลกระทบสะสมต่องวดก่อนๆ จากการเปลี่ยนแปลงได้

18. การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี

18.1. ๓๔.ไม่สามารถวัดมูลค่าบางรายการต้องอาศัยข้อมูลล่าสุดที่น่าเชื่อถือที่มีอยู่

18.1.1. (๑) หนี้สงสัยจะสูญ

18.1.2. (๒) สินค้าล้าสมัย

18.1.3. (๓) มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินหรือหนี้สินทางการเงิน

18.1.4. (๔) อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์

18.1.5. (๕) ภาระผูกพันจากการรับประกัน

18.2. ๓๕.การประมาณการอย่างสมเหตุสมผล

18.3. ๓๖.ทบทวนการประมาณการเดิมได้รับข้อมูลใหม่

18.4. ๓๗.การเปลี่ยนแปลงวิธีการวัดมูลค่าถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี

18.5. ๓๘.รับรู้ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีทันทีในรายได้สูง/(ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่าย

18.5.1. (๑) มีผลกระทบเพียงงวดเดียว

18.5.2. (๒) มีผลกระทบต่องวดต่อๆไป

18.6. ๓๙. หากต้องมีการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าของสินทรัพย์ หนี้สิน หรือ รายการในสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน ต้องรับรู้โดยการปรับปรุงมูลค่าตามบัญชีที่เกี่ยวข้องในงวดบัญชีที่มีการเปลี่ยนแปลงนั้น

18.7. ๔๐. การรับรู้โดยวิธีเปลี่ยนทันทีเป็นต้นไป กระทบต่อ รายได้สูง/ต่ำกว่าค่าใช้จ่ายของงวดบัญชี