การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางเดินปัสสาวะ

1. NS

1.1. สาเหตุ

1.1.1. กระบวนการสร้างภูมิคุ้มกัน

1.1.2. พยาธิสภาพอื่นๆ

1.2. อาการและอาการแสดง

1.2.1. อาการบวมกดบุ๋ม

1.2.2. ภาวะไขมันในเลือดสูง

1.2.3. มีโปรตีนในปัสสาวะ

1.2.4. โปรตีนในเลือดต่ำ

1.3. การวินิจฉัยโรค

1.3.1. การตรวจร่างกาย

1.3.1.1. บวมกดบุ๋ม

1.3.1.2. ผิวหนังบาง ใส และตึง

1.3.1.3. ผิวสีซีด

1.3.1.4. ท้องมาน

1.3.2. การตรวจทางห้องปฎิบัติการ

1.3.2.1. ใน24hr. มีโปรตีน สูงกว่า40มิลลิกรัม/ตารางเมตร/ชั่วโมง และมีฟองมากกว่าปกติ

1.4. การรักษา

1.4.1. การให้ยาสเตียรอยด์

1.5. การพยาบาล

1.5.1. รับประทานอาหารตามปกติ ไม่จำเป็นต้องรับประทานอาหารโปรตีนสูง จะทำให้เกิด Proteinuria

1.5.2. อาการบวม ให้จำกัดเกลือในอาหาร หรืองดอาหารเค็มทุกชนิด

1.5.3. อาการแน่นอึดอัดท้อง จากภาวะท้องมาน จัดท่า semi-fowler's position

1.5.4. ดูแลผิวป้องกันแผลกดทับ ทาโลชั่น ผิวไม่เปียกชื้น

1.5.5. อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง

1.5.6. บันทึกสารน้ำเข้า-ออกจากร่างกาย

2. UTI

2.1. สาเหตุ

2.1.1. ติดเชื้อแบคทีเรีย

2.2. อาการและอาการแสดง

2.2.1. ทารกแรกเกิด

2.2.1.1. ไม่ดูดนม อาเจียน ถ่ายอุจจาระเหลว เลี้ยงไม่โต ถ่ายปัสสาวะขัด มีกลิ่นเหม็น ปวดท้อง ตัวเหลือง มีอาการชัก ปวดเบ่ง ถ่ายปัสสาวะบ่อย

2.2.2. เด็กวัยหัดเดิน

2.2.2.1. มีไข้สูง ไม่รับประทานอาหาร อาเจียน ท้องเสีย ปัสสาวะขัด ปวดเบ่ง ถ่ายปัสสาวะบ่อย

2.2.3. เด็กวัยก่อนเรียน

2.2.3.1. ปวดท้องส่วนกลาง ถ่ายปัสสาวะลำบาก กลั้นปัสสาวะไม่ได้ อาจมีอาการชัก

2.3. การรักษาและการป้องกัน

2.3.1. การรักษาอาการเฉพาะโรคโดยยาปฎิชีวนะ

2.3.2. รักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์

2.3.3. ดูแลให้ได้รับน้ำดื่มอย่างเพียงพอ

2.4. การพยาบาล

2.4.1. ดื่มน้ำ2-3 ลิตร กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2-3 hr.

2.4.2. แนะนำไม่ให้กลั้นปัสสาวะ

2.4.3. เปลี่ยนผ้าอ้อมอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง

2.4.4. ไม่ควรเล่นกับพื้นโดยไม่สวมเสื้อผ้า และไม่ลงแช่ในอ่างอาบน้ำ

3. นางสาวธีรัสดา โม้เกิด เลขที่ 38 ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 25

4. AGN

4.1. อาการและอาการแสดง

4.1.1. ปัสสาวะมีเลือดปน

4.1.2. ความดันโลหิตสูง

4.1.3. บวมกดไม่บุ๋ม

4.1.4. ปัสสาวะออกน้อย

4.1.5. ปัสสาวะมีโปรตีน

4.1.6. อาการทั่วๆไปไม่เฉพาะเจาะจง

4.1.6.1. มีไข้

4.1.6.2. ปวดศีรษะ

4.1.6.3. อ่อนเพลีย

4.1.6.4. เมื่อยล้า

4.1.6.5. เบื่ออาหาร

4.2. การวินิจฉัยโรค

4.2.1. การซักประวัติ

4.2.1.1. ประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนหรือผิวหนัง

4.2.1.2. ปัสสาวะมีสีโคล่า น้อย ขุ่น และมีตะกอน

4.2.2. การตรวจร่างกาย

4.2.2.1. บวมกดไม่บุ๋ม

4.2.2.2. ความดันโลหิตสูง

4.2.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.2.3.1. การตรวจปัสสาวะ

4.2.3.1.1. พบเม็ดเลือดแดงหรือเม็ดเลือดขาว

4.2.3.1.2. โปรตีนไม่เกิน 3+

4.2.3.1.3. ความถ่วงจำเพาะเกิน 1.020

4.2.3.1.4. ระดับ pH เป็นกรด

4.2.3.2. การตรวจเลือด

4.2.3.2.1. ติดเชื้อ

4.2.3.2.2. ไตวายเฉียบพลัน

4.3. การรักษา

4.3.1. ให้ยาปฎิชีวนะ

4.3.2. ให้ยาความดันโลหิตในรายที่ diastolicสูงกว่า 90 mmHg

4.3.3. จำกัดน้ำและเกลือในรายที่ปัสสาวะน้อยลง

4.3.4. รับประทานอาหารตามปกติตามอายุ ยกเว้นจำกัดเกลือถ้าบวม

4.3.5. ไม่ทำกิจกรรมที่ออกแรงมาก

4.4. การพยาบาล

4.4.1. ในช่วงความดันโลหิตสูงให้จำกัดกิจกรรมต่างๆ

4.4.2. ให้ยาลดความดันโลหิตและยาขับปัสสาวะ

4.4.3. อาการบวมให้จำกัดการดื่มน้ำและรับประทานอาหารที่จำกัดเกลือ

4.5. สาเหตุ

4.5.1. ติดเชื้อ beta- hemolytic streptococcus group A

5. Phimosis in childen

5.1. สาเหตุ

5.1.1. เกิดความผิดปกติแต่กำเนิด

5.2. พยาธิสรีรวิทยา

5.2.1. ขณะอยู่ในครรภ์ foreskin ติดกับ glans แน่น

5.3. การพยาบาล

5.3.1. แบบประคับประคอง ใช้ครีม steroid พร้อมกับให้พ่อแม่ช่วยรูดหนังลง

5.3.2. การขลิบ ในกรณีไม่สามารถรักษาด้วยวิธีอื่นได้แล้ว