พระราชบัญญัติ การประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖
by Sai Chalermnon
1. มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๔)
2. มาตรา ๓ ให้ยกเลิกบทนิยามคําว่า “การแพทย์แผนไทย” “เวชกรรมไทย” “เภสัชกรรมไทย” “การผดุงครรภ์ไทย” และ “การแพทย์แผนไทยประยุกต์” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
3. มาตรา ๔ ให้เพิ่มบทนิยามคําว่า “กิจกรรมบําบัด” “การแก้ไขความผิดปกติของ การสื่อความหมาย” “การแก้ไขการพูด” “การแก้ไขการได้ยิน” “เทคโนโลยีหัวใจและทรวงอก” “รังสีเทคนิค” “จิตวิทยาคลินิก” “กายอุปกรณ์” “การแพทย์แผนจีน” ระหว่างนิยามคําว่า “การประกอบโรคศิลปะ”
4. มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพ ้ ิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗
5. มาตรา ๗ ให้ยกเลิกมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
6. มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗
7. มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ และมาตรา ๒๒ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
8. มาตรา ๑๕ ให้แก้ไขคําว่า “ผู้อํานวยการกองการประกอบโรคศิลปะ” ในพระราชบัญญัติ การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นคําว่า “ผู้อํานวยการสํานักสถานพยาบาลและการประกอบ โรคศิลปะ” ทุกแห่ง
9. มาตรา ๑๖ เมื่อพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้พระราชกฤษฎีกาดังต่อไปนี้ เป็นอันยกเลิก (๑) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขากิจกรรมบําบัดเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตาม พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๒) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขาการแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมายเป็นสาขา การประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๓) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอกเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ ตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๔) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขารังสีเทคนิคเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตาม พระราชบัญญัตการประกอบโรคศ ิ ิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ (๕) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขาจิตวิทยาคลินิกเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตาม พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๖ (๖) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขาเทคโนโลยีหัวใจและทรวงอกเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะ ตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ (๗) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขากายอุปกรณ์เป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตาม พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๑ (๘) พระราชกฤษฎีกากําหนดให้สาขาการแพทย์แผนจีนเป็นสาขาการประกอบโรคศิลปะตาม พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๕๒
10. มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
11. มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ และให้ใช้ความ ต่อไปนี้แทน “มาตรา ๘ ให้มีคณะกรรมการการประกอบโรคศลปะ ิ ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานกรรมการ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพเป็นรองประธานกรรมการและกรรมการอื่น
12. มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความใน (๑) และ (๒) ของมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบ โรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “(๑) เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพ กายภาพบําบัด ผู้ประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย หรือผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น (๒) เป็นผู้ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้หรือ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม กฎหมายว่าด้วย วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเภสัชกรรม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทันตกรรม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพกายภาพบําบัด กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ การแพทย์แผนไทย
13. มาตรา ๑๐ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๔/๑ มาตรา ๑๔/๒ มาตรา ๑๔/๓ มาตรา ๑๔/๔ มาตรา ๑๔/๕ มาตรา ๑๔/๖ และมาตรา ๑๔/๗ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
14. มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกมาตรา ๑๕ และมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
15. มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิก (๔) ของมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒
16. มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๗