1. 3 ให้ความหมาย
1.1. การเเพทย์แผนไทย กระบวนการรักษา รวมทั้งการผลิต โดยอาศัยจากตำรา เเละความรู้ดั้งเดิม
1.1.1. วิชาชีพ
1.1.2. การประกอบวิชาชีพ
1.1.3. กรรมวิธีการเเพทย์แผนไทย ตามสภาฯกำหนด
1.1.3.1. เวชกรรมไทย
1.1.3.2. เภสัชกรรมไทย
1.1.3.3. การผดุงครรภ์ไทย
1.1.3.4. การนวดไทย
1.1.3.5. การเเพทย์พื้นบ้าน
1.2. การประกอบวิชาชีพการเเพทย์แผนไทยประยุกต์ ใช้องค์ความรู้จากวิทยาศาสตร์ ประยุกต์จากองค์ความรู้ทางการเเพทย์
1.3. ผู้ประกอบการ
1.3.1. การเเพทย์แผนไทย
1.3.2. การเเพทย์แผนไทยประยุกต์
1.3.3. ใบอนุญาติ
1.4. ตำเเหน่งสภาฯ
1.4.1. สมาชิก
1.4.2. กรรมการ
1.4.3. คณะกรรมการ
1.4.4. เลขาธิการ
1.4.5. พนักงานเจ้าหน้าที่
1.4.6. รัฐมนตรี
2. 4 ใบประกอบ
2.1. การเเพทย์แผนไทย
2.1.1. เวชกรรมไทย
2.1.2. เภสัชกรรมไทย
2.1.3. ผดุงครรภ์ไทย
2.1.4. เเพทย์พื้นบ้าน
2.2. การเเพทย์แผนไทยประยุกต์
3. 5 บัญญัตินี้ใช้กับเเพทย์แผนไทยทั้งหมด
4. หมวดที่ 1 สภาการเเพทย์แผนไทย
4.1. 7 ทำหน้าที่ตามบัญญัติ
4.2. 8 มีเพื่อ
4.2.1. สงเสริมพัฒนาวิชาชีพ
4.2.2. ดูเเล กำหนดมาตราฐานการให้บริการ
4.2.3. คุมความประพฤติ
4.2.4. เผยเเพร่เเก่ประชาชนเกี่ยวกับวิชาชีพ
4.2.5. ให้คำปรึกษาต่อสภาอื่น
4.2.6. ส่งเสริมวิชาชีพเดียวกัน
4.2.7. ผดุงชีพสวัสดิการ
4.2.8. ตัวเเทนวิชาชีพ
4.3. 9 อำนาจ
4.3.1. ออกใบประกอบ
4.3.2. ออกคำสั่งตาม 45
4.3.3. รับรองวุฒิ หลักสูตร วิทยาะฐานะ
4.3.4. ออกวุฒิชำนาญการ
4.3.5. จัดแผนเสนอต่อนายก รับผิดชอบทำให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
4.4. 10 รายได้
4.4.1. จากแผ่นดิน
4.4.2. จากกิจกรรมตามข้อ 8
4.4.3. มีผู้ให้
4.4.4. ดอกผลจากทุกข้อ
4.5. 11 มีตำเเหน่งเเละอำาจตาที่บัญญัติ
5. หมวดที่ 3 คณะกรรมการ
5.1. 15 ประกอบด้วย
5.1.1. โดยตำเเหน่ง
5.1.1.1. ปลัดสาสุขฯ อธิบดี เลขาธิการ
5.1.2. คณบดี
5.1.3. ผู้เเทนจากมูลนิธิ
5.1.4. หัวหน้าสถาบัน/พยาบาล
5.1.5. ที่ได้รับการเลือกตั้งรวมกัน
5.2. 16 แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเเทนที่ปรึกษาได้
5.3. 17 เลือกตำเเหน่งนายก 1 คน อุปนายก 2 คนจากการเลือกตั้ง
5.4. 18 เลือกกรรมการให้เป็นไปตามบัญญัติ
5.4.1. 19 มีใบประกอบฯ ไม่เคยถูกพักใบประกอบ ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
5.5. 20 ดำรงได้ 3 ปี
5.5.1. 21 ออกก่อนเมื่ือครบอายุ ขาดคุณสมบัติ ลาออก
5.5.1.1. 22 ผู้มาเเทนจะดำรงต่อจากคนเก่าจนครบ 3 ปี
5.5.1.2. 23 ออกไม่เกิน 3 คนให้เลือกตั้งคนมีลำดับถัดไป
5.5.1.2.1. 4ถ้าเกินให้เลือกตั้งยกทีม
5.6. 24 อำนาจ หน้าที่
5.6.1. บริหารให้ดำเนินไปตามวัตถุประสงค์
5.6.1.1. เเต่งตั้งอนุกรรมการ
5.6.1.2. จัดเเผนดำเนินการ งบ
5.6.1.3. ออกข้อบังคับ ค่าสมาชิก กำหนดโรค ใบประกอบชีพ การสอบ จรรยาบรรณ การอาบรม
5.7. 25 ระดับหนายก
5.7.1. คนที่เหลือดำรงตำเเหน่งเเทนได้
5.7.2. บริหารให้เป็นไปตามบัญญัติ ผู้เเทน
5.7.3. ดำรงหน้าที่ตัวเอง
6. หมวด6พนักงานเจ้าหน้าที่
6.1. อำนาจ หน้าที่
6.1.1. 50 เข้าตรวจสถานที่ทำการตรวจให้เป็นไปตามบัญญัติ ความน่าสงสัย ยึดเอกสารดำเนินคดี ต้องเเสดงบัตรประจำตัวด้วย
6.1.2. 52 ปฏิบัติตามกฎหมาย
6.2. New Topic
6.3. การลงโทษ
6.3.1. ผิด 31 ,47 จำคุก 3 ปี 6 หมื่นบาท
6.3.2. ผิด32,33 1 ปี2 หมื่นบาท
6.3.3. ผิด35วรรค3 ,50วรรค2 2พัน
6.3.4. 56 ไม่มาให้คำ,ส่งเอกสารตามเเจ้ง42โดยไม่มีเหตุอันควร1เดือน1พัน
6.3.5. เจ้าหน้าที่ฝ่าฝืน51 วรรค1 2 พัน
7. 1 ชื่อพระราชบัญญัติ
8. 2 ใช้ในวันถัดไป
9. 6 เเต่งตั้งออกกฏหมายค่าธรรมเนียมไม่เกินตามดำหนด
9.1. 63หากมีการทำผิดเเละยังไม่ได้ดำเนินการให้ดำเนินตามบัญญัติ
10. หมวดที่ 2 สมาชิก
10.1. 12 คุณสมบัติ
10.1.1. ไม่ต่ำกว่า 20 ปี
10.1.2. มีความรู้ทางเเพทย์เเผนไทย โดยมีการฝึกอบรมจากสถานที่สภาฯ รับรอง มีวุฒิ มีใบประกอบ ผ่านข้อบังคับ
10.1.3. ไม่มีความประพฤติเสียหาย
10.1.4. เเสดงความเห็นกิจการต่อสภาฯ
10.1.5. ไม่เคยจำคุก
10.1.6. จิตปกติ
10.2. 13 สิทธิ หน้าที่
10.2.1. ขอขึ้นใบประกอบวิชาชีพ
10.2.2. เลือกตั้ง เฉพาะสมาชิกที่มีใบอนุญาติ
10.2.3. ผดุงเกียรติตามบัญญัติ
10.3. 14 สิ้นอายุเมื่อ
10.3.1. ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ
10.3.2. มีมติให้พ้นสมาชิก
11. หมวดที่ 4 การดำเนินการของคณะกรรมการ
11.1. 28 เข้าประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ถือเสียงข้างมาก
11.2. 29 สภานกยกพิเศษจะเข้าฟังความเห็นเเล้วส่งรายงานต่อไปที่สภา
11.2.1. 30 เรื่องที่ต้องลงเห็นชอบ
11.2.1.1. ข้อบังคับ แผนเเละงบ ให้พ้นสภาพ ชี้การพักหรือถอนใบอนุญาติ
12. หมวด5 การควบคุมการประกอบการวิชาชีพ การเเพทย์แผนไทยเเละแผนไทยประยุกต์
12.1. 31 ห้ามทำการรักษาโดยไม่มีใบประกอบ
12.1.1. ยกเว้นทำกับตัวเอง ช่วยเหลือตามหน้าที่ นักศึกษา ผู้ได้รับอนุญาติ หมอพื้นบ้าน
12.2. 32 ห้ามผู้ไม่มีวุฒิวิชาชีพการเเพทย์แผนไทยใช้บอกว่าตัวเองเป็นแพทย์แผนไทยทำให้ผู้อื่นเข้าใจผิด
12.3. 33 ห้ามเเสดงว่าเป็นผู้มีความรู้แผนไทยทั้งที่ยังไม่มีใบอนุญาติ หรือใบประกอบชีพ
12.4. 36 การขึ้นทะเบียนใบอนุญาติ ต่ออายุเเสดงวุฒิต้องเป็นไปตามกฏ
12.5. 37 หากเสียหายจากผู้ทำผิดจาก 37 ให้ยื่นหนังสือฟ้องต่อสภาฯได้
12.6. 38 เมื่อเห็นว่ามีความผิดให้เสนอต่ออนุกรรมกรรมการจรรยาบรรณ
12.7. 40. คณะกรรมๅทยรับรายงานจะทำงานสืบหา สอบสวนเเละยกข้อกล่าวหา
12.8. 41 ตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทำการสอบสวนไม่เกิน 3 คนเสนอเเละสรุปเสนอต่อคณะกรรมการเพื่อชี้ขาด
12.9. 42 คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องมีอำนาจในการเรียกบุคคลเพื่อประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
12.10. 43 อนุกรรมการสอบสวนเเจ้งข้อกล่าวหา ส่งสำเนาให้ผู้ถูกกล่าวหา15วีนก่อนเริ่มสอบสวน ระหว่างนี้หาพยาน ทำข้อชี้เเจงยื่นได้
12.11. 44 อนุกรรมการสอบสวนเสร็จส่งต่อให้คณะกรรมการไม่เกิน30 วัน45 กรรมรับพิจารณาไม่เกิน 30วัน
12.11.1. อาจสอบสวนเพิ่มเติมเพื่ออนุโลมชี้ขาดได้1อย่าง ยกข้อกล่าวหา ว่าเตือน ภาคทัณฑ์ พักใบอนุญาติ เพิกถอน ทำเป็นคำสั่งสภาชี้เหตุผล
12.11.1.1. เลขาธิการ เเจ้งคำสั่งไปยังผู้ถูกกล่าวหาใน7วันบันทึกลงในทะเบียนผู้ประกอบ จากนั้นห้ามทำวิชาชีพ ฝ่าฝืนถูพลงโทษ ผู้ถูกเพิกเฉยรับอีก2 ปี หากโดนปฏิเสธให้ยื่นต่อไป1ปี