ส่วนประกอบของเครื่องกลึงและการใช้งาน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ส่วนประกอบของเครื่องกลึงและการใช้งาน by Mind Map: ส่วนประกอบของเครื่องกลึงและการใช้งาน

1. ลักษณะการลับมีด แบ่งออกได้เป็น

1.1. มีดกลึงหยาบ (Rough turning)

1.1.1. ใช้ปอกกลึงผิวใน ระยะแรกที่ต้องการกินเนื้อ งานมาก ปลายมีดกลึงจะ ถูกลับให้มีความแหลม

1.2. มีดกลึงผิวเรียบ (Round nose tool)

1.2.1. ใช้กลึงลดขาด ผิวครั้งสุดท้ายเพื่อให้ผิว เรียบ

2. ส่วนประกอบเครื่องกลึงที่สำคัญ

2.1. -สะพานแท่นเครื่อง (BED)

2.1.1. ทำหน้าที่เป็นฐาน ร อ ง รับ ชุด แ ท่น เ ลื่อ น (CARRIAGE) และชุดท้าย แท่น (TAIL STOCK) ให้ เลื่อนไปมาบนสันตัวV

2.2. ชุดหัวแท่น (HEAD STOCK)

2.2.1. 1. ระบบเฟืองขับ 2.คันโยกเปลี่ยนทิศ ทางการป้อน 3. คันปรับความเร็ว 4. คลัตช์ 5. เพลางาน 6. สวิตช์มอเตอร์ 7. สวิตช์เดินเครื่อง 8. ระบบเฟืองป้อน

2.3. ชุดท้ายแท่น (TAIL STOCK)

2.3.1. เลื่อนไปมาบน ส ะ พ า น เ ลื่อ น BED ทำหน้าที่ ประคองยันศูนย์ งานยาว

2.3.2. 1.มือหมุน(Hand wheel) 2.คันโยกล็อค (Body clamp) 3.คันล็อคเพลา (Spindleclamp) 4.เพลาท้ายแท่น (Spindle) 5.รูเพลาเอียง (Taperedbore) 6 . ตัวแท่ น(Body)

2.4. ชุดแท่นเลื่อน (CARRIAGE)

2.4.1. --ชุดกล่องเฟือง (APRON)

2.4.1.1. 1.มือหมุน (Traversing hand wheel) 2.คันป้อนอัตโนมัติ (Feed selector) 3.ปรับหมุนเปลี่ยนทิศทางของเพลา 4.คันโยกกลึงเกลียว( Leadscrew engagment lever)

2.4.2. --ชุดแคร่คล่อม (SADDLE)

2.4.2.1. 1.ฐานแคร่(Saddle base) แนวแกนX 2. แท่นเลื่อนขวาง (Cross slide) แนวแกนY 3. แท่นปรับมุม (Compound rest) ปรับหมุนได้รอบตัว 360 องศา 4. แท่นเลื่อนบน (Top slide) เลื่อนป้อมมีดไปในแนวทิศที่ปรับตั้งจากแท่นปรับมุม 5. ป้อมมีด (Tool post) 5.1 Rigid tool post ป้อมมีดเดี่ยวใช้เฉพาะงานจะปรับมีดไม่ได้ 5.2 Standard tool post ปรับขยับไปมาได้รอบตัว ใช้กับเครื่องกลึงขนาดเล็ก 5.3 Square tool post ป้อมมีดที่มีใช้ในเครื่องกลึงขนาดใหญ่ จับมีดพร้อมกันได้สีด้าม

3. อุปกรณ์จับยึดชิ้นงาน

3.1. หัวจับงาน (CHUCK)

3.1.1. สามฟันจับ (Three jaw chuck) ใช้สำหรับจับ งานกลมให้ได้ศูนย์

3.1.2. หัวจับอิสระแบบสี่ฟันจับ (Four jaw chuck) ใช้จับ งานกลม งานเหลี่ยม งานที่ไม่เรียบ ฟันจับปรับได้อิสระ

3.2. หน้าจาน (Face plate)

3.2.1. ใช้จับงานที่ไม่สามารถจับ ด้วย Chuck ได้ ลักษณะ เป็นแผ่นเรียบกลม เจาะ เป็นร่อง

3.2.2. Chuck ยึดชิ้นงานด้วย Clamp กับร่องบนจาน โดยต้องปรับชิ้นงานบน

3.3. ยันศูนย์ (Center)

3.3.1. ใช้สำหรับจับงานกลึงยาว โดยยัน ศูนย์หัวประกอบเข้ากับ เพลาเครื่อง (Spindle) โดย อาศัยปลอก (Sleeve) สวม เข้ากับตัวยันศูนย์ จับแน่น

3.3.2. --ยันศูนย์ตาย (Dead center) ลักษณะเป็นชิ้นเดียว เหมาะกับการยันศูนย์หัวเพราะจะหมุนไปกับเพลาด้วยกัน --ยันศูนย์หมุน (Live center) ส่วนหัวยันจะสามารถหมุนได้อิสระจากท้ายเรียว --ยันศูนย์ท่อ (Pipe center) ใช้กับการยันศูนย์งานกลวงที่เป็นท่อ

3.3.3. ต้องอาศัยอุปกรณ์ ประกอบ

3.3.3.1. ห่วงพา(Lathe dog) และหน้า จาน (Face plate) เพื่อให้ พางานหมุนไปได้

4. มีดกลึง (TOOL LATHE)

4.1. ทำหน้าที่ตัดเฉือนเนื้องานออกในขณะหมุน มีรูปร่างขึ้นอยู่กับการใช้งานหลายลักษณะที่แตกต่างกันออกไป เช่น มีดกลึงปอกผิวปาดหน้า มีดกลึงเกลียว มีดตัดมีดลบมุมมน เป็นต้น

4.1.1. ทำจากเหล็ก Highspeed

4.1.2. มีดเล็บ(Tipped tool) ทำจากเหล็ก

4.2. ลักษณะของด้ามจับมีดกลึง (Tool holder)

4.2.1. --ด้ามมีดจับตรง (Straight tool holder) ใช้จับมีดได้ทั้งมีดกลึงซ้ายและมีดกลึงขวา

4.2.2. --ด้ามมีดจับเอียงขวา(Right hand tool holder)ใช้จับมีดกลึงซ้าย

4.2.3. --ด้ามมีดจับเอียงซ้าย(Left hand tool holder)ใช้จับมีดกลึงขวา รูสวมด้ามมีดจะถูกเจาะเป็นมุมเงย 15 - 20 (รูป)องศา แต่ก็มีเหมือนกันที่เจาะไว้ เป็นแบบขนาน ซึ่งจะใช้กับป้อมมีดที่ปรับมุมเงยได้

4.2.4. --ด้ามมีดตัด (Holder for cutting tool) เป็นด้ามจับมีดตัด มีทั้งแบบเอียงขวาและเอียงซ้าย

4.2.5. --ด้ามมีดคว้าน (Holder for boring tool) ใช้จับมีดเล็กๆ เพื่อคว้านกลึงรูภายใน หรือกลึงเกลียวใน

4.3. มีดกลึงต้องถูกลับให้มีคมมีดจึงเกิดมุมในการ ลับมีดขึ้น

4.3.1. 1. มุมคายหน้า (Front or top rake angle) มีไว้สำหรับคายเศษโลหะที่ตัด 2. มุมคมตัดหน้า(Front cutting angle) มีเพื่อให้เกิดคมตัด 3. มุมหลบหน้า(Front clearance angle) เป็นมุมเอียงเพื่อไม่ให้มีดกลึงเสียดสีกับงานด้านหน้า 4. มุมคายข้าง (Side rake angle) มีไว้สำหรับคายเศษโลหะ 5. มุมคมตัดข้าง (Side cutting angle) มีไว้เพื่อให้เกิดคมมีด 6. มุมหลบข้าง (Side clearance angle) มีไว้เพื่อไม่ให้ข้างมีดสีกับงานเวลาตัด

5. ส่วนต่างๆของมีดและมุมมีด

5.1. 1. ความยาวของคมมีด 2. ลำตัว 3. คมตัดข้างหรือคมตัดหลัก เป็นคมตัดปอกผิวและปาดหน้าออกจากศูนย์กลางงาน 4. ปลายคมมีด 5. คมตัดหน้าหรือคมตัดรอง เป็นคมตัดปาดหน้าเข้าหาศูนย์กลางงาน 6. ผิวข้างคมมีด

6. การติดตั้งมีดกลึงทำงาน

6.1. ประกอบมีด (Tool)เข้ากับด้ามมีด(Tool Holder) ยึด จับด้วยป้อมมีด

6.2. 1. ด้ามมีดและตัวมีด ต้องโผล่พ้นออกมาจากที่จับเพียงเล็กน้อยเพื่อไม่ให้เกิดการสะท้านขณะทำการกลึง 2. ปลายคมตัดต้องอยู่เหนือแนวศูนย์กลางงานประมาณ 0 - 5องศา เพื่อไม่ให้เกิดการงัด โดยการตรวจศูนย์กับปลายยันศูนย์ท้าย 3. มุมหลบหน้ามีดหลบประมาณ 10 องศา ไม่ให้เกิดการเสียดสีงานกับมีด 4. มุมเอียงของคมมีดในการกลึงปอกผิว และปาดหน้ามองจากด้านบนจะทำมุมกับหน้างานตัด 70 - 75 องศา หรือ 15 - 20 องศาในแนวตั้งฉากกับ หน้างาน