เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ by Mind Map: เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. รูปร่างเครือข่าย

1.1. ลักษณะของการเชื่อมโยง สายสื่อสารเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ภายในเครือข่ายเข้าด้วยกันนั่นเอง

1.1.1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด

1.1.1.1. )เป็นการเชื่อมต่อระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารสอง เครื่อง โดยใช้สื่อกลางหรือช่องทางในการ สื่อสารช่องทางเดียวเป็นการจองสายในการ ส่งข้อมูลระหว่างกันโดยไม่มีการใช้งาน สื่อกลางนั้นร่วมกับอุปกรณ์ชิ้นอื่นๆ

1.1.2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด

1.1.2.1. เป็นการใช้งานช่องทางการสื่อสารเต็มประสิทธิภาพ มากขึ้นโดยการเชื่อมต่อลักษณะนี้จะใช้ช่องทางการสื่อสารหนึ่งช่องทางเชื่อมต่อเข้ากับเครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารหลายชิ้น

1.1.2.2. โทโปโลยีแบบ BUS

1.1.2.2.1. การนําอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายเชื่อมต่อกับสายสื่อสารหลัก

1.1.2.3. โทโปโลยีแบบ RING

1.1.2.3.1. ข่าวสารที่ส่งผ่านไปในเครือข่ายจะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปในทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน

1.1.2.4. โทโปโลยีแบบ STAR

1.1.2.4.1. จากการเชื่อมโยงติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายกับรูปดาว (STAR)หลายแฉกโดยมีศูนย์กลางของดาว

2. อุปกรณ์เครือข่าย

2.1. การ์ดเครือข่าย (Network Interface Card)

2.1.1. ทําหน้าที่ในการเชื่อมคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่นั้นเข้ากับระบบเครือข่ายได

2.1.1.1. การ์ดแลน

2.1.1.2. การ์ดแลนแบบไร้สาย

2.1.1.3. การ์ดแลนแบบไร้สาย

2.2. ฮับ (Hub)

2.2.1. เปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ภายใต้มาตรฐานการรับส่ง แบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับส่งผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งจะกระจายไปยัง ทุกสถานีที่ติดต่อยู่บนฮับนั้น

2.3. สวิตช

2.3.1. การรับส่งข้อมูลจากสถานีหรืออุปกรณ์ตัว หนึ่ง จะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ

2.4. บริดจ์ (Bridge)

2.4.1. เหมาะกับเครือข่ายหลายๆ กลุ่มที่เชื่อมต่อกัน เนื่องจาก สามารถแบ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลายๆ เซกเมนต์แยกออกจากกันได้

2.5. รีพีตเตอร์ (Repeater)

2.5.1. รีพีตเตอร์จะปรับปรุงสัญญาณที่อ่อนตัวให้กลับมาเป็นรูปแบบเดิม เพื่อให้สัญญาณสามารถส่งต่อไปได้อีก

2.6. โมเด็ม (Modem)

2.6.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทําหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถ เชื่อมคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่านสายโทรศัพท์

2.7. เร้าเตอร์ (Router)

2.7.1. ทําหน้าที่หาเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

3. ความหมายและประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร

3.1. LAN (Local Area Network)

3.1.1. ระบบเครื่องข่ายท้องถิ่น เป็นเน็ตเวิร์กในระยะทางไม่เกิน 10 กิโลเมตร

3.2. MAN (Metropolitan Area Network)

3.2.1. ระบบเครือข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิร์กที่จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย

3.3. WAN (Wide Area Network)

3.3.1. เป็น การสื่อสารในระดับประเทศ ข้ามทวีปหรือทั่วโลก จะต้องใช้โครงข่ายการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย

4. โพรโตคอล(Protocol)

4.1. คือ ข้อกําหนดหรือข้อตกลงที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ไม่ว่าจะ เป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่นๆ โดยเครื่อง คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้นจึงจะสามารถติดต่อและส่ง ข้อมูลระหว่างกันได

4.1.1. Syntax หมายถึงรูปแบบ(Format) หรือโครงสร้าง(Structure) ของข้อมูล

4.1.2. Semantics หมายถึง ความหมายของข้อมูลที่ได้รับมา

4.1.3. Timing เป็นข้อกําหนดของเวลาในการรับส่งข้อมูล เนื่องจากเอนติตี้แต่ละตัวนั้นมา ความเร็วในการรับส่งที่ไม่เท่ากัน

4.1.4. de facto เป็นมาตรฐานที่เกิดขึ้นจากการยอมรับของคนทั่วไป ไม่ต้องมีองค์กรใดๆ ทํา หน้าที่ในการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานนั้น

4.1.5. de jureเป็นมาตรฐานที่ได้ผ่านการรับรองอย่างถูกกฏหมายแล้ว ซึ่งทั่วโลกมีองค์กรที่ทํา หน้าที่ในการกําหนดมาตรฐานอยู่หลายองค์กร

4.2. 1. ชั้นกายภาพ (physical layer)

4.2.1. ทําหน้าที่แปลงข้อมูลในรูปของสัญญาณ ดิจิทัลให้ผ่านตัวกลางแต่ละชนิดได้

4.3. 2. ชั้นเชื่อมโยงข้อมูล(data link layer

4.3.1. ทําหน้าที่เสมือนเป็นผู้บริการส่ง ข้อมูล

4.4. 3. ชั้นเครือข่าย(network layer)

4.4.1. ทําหน้าที่ควบคุมการส่งผ่านข้อมูล ระหว่างต้นางและปลายทางโดยผ่านจุดต่างๆ บนเครือข่ายให้เป็นไปตามเส้นทางที่กําหนด

4.5. 4. ชั้นขนส่ง(transport layer)

4.5.1. เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง

4.6. 5. ชั้นส่วนงาน(session layer)

4.6.1. เป็นชั้นของการตรวจสอบและควบคุมการส่ง ข้อมูลระหว่างเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางให้ถูกต้อง

4.7. 6. ชั้นการนําเสนอข้อมูล (presentation layer)

4.7.1. จะแปลงข้อมูลที่ส่งมาให้ อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมของเครื่องผู้รับเข้าใจ

4.8. 7. ชั้นการประยุกต์ (application layer)

4.8.1. เป็นส่วนติดต่อระหว่างโปรแกรม ประยุกต์ของเครือข่ายผู้ใช้

4.9. โพรโตคอลTCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)

4.9.1. มีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน สามประการคือ

4.9.1.1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน

4.9.1.2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย

4.9.1.3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน