1. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
1.1. หน่วยรับข้อมูล
1.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์
1.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง 1) เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ
1.1.3. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา คือ อุปกรณ์ที่มีรูปร่างเหมือนปากกาแต่จะมีแสงที่ปลาย มักใช้ในงานเกี่ยวกับกราฟิกที่ต้องมี การวาดรูป การวาดแผนผังและคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ(Computer Aided Design : CAD) อุปกรณ์ชิ้นนี้ จะช่วยให้ท างานได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกาที่มีใช้งานอยู่แพร่หลาย
1.1.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส จอสัมผัส(Touch screen) เป็นจอภาพที่เคลือบสารพิเศษไว้ท าให้สามารถรับต าแหน่งของการ สัมผัสด้วยมือมนุษย์ได้ทันที ผู้ใช้เพียงแตะปลายนิ้วลงบนจอภาพในต
1.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ 1) เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader) การท างานของเครื่องใช้หลักการของการสะท้อนแสง โดยเครื่องอ่านจะส่องล าแสงไปยังรหัสแท่งที่อยู่บนสินค้า
1.1.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับสัญญาณเสียงที่มนุษย์พูดและแปลงเป็น สัญญาณดิจิตอลเก็บข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ สั่งให้คอมพิวเตอร์ท างานทางเสียงแทนที่จะใช้แป้นพิมพ์
1.2. หน่วยประมวลผลกลาง
1.2.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU) ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูล ระหว่างหน่วยความจ าของซีพียูควบคุมกลไกการท างานทั้งหมดของระบบ ควบคุมจังหวะเวลา โดยมีสัญญาณ นาฬิกาเป็นตัวก าหนดจังหวะการท างาน
1.2.2. หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU) ท าหน้าที่ค านวณทางเลขคณิต ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อท าการตัดสินใจ
1.2.3. บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket) ของซีพียู สามารถแบ่งเป็น 4 แบบ 1) แบบตลับ(Cartridge) ใช้ส าหรับเสียบลงในช่องเสียบบนเมนบอร์ดที่เรียกว่าสล็อต(Slot) ซึ่ง ซีพียูแต่ละค่ายจะใช้Slot ไม่เหมือนกัน ในปัจจุบันได้เลิกผลิตแล้ว
1.2.4. อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink) ขณะที่ซีพียูท างานจะเกิดความร้อนค่อนข้างมาก จึงต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮีตซิงค์(Heat Sink) มาช่วยพาความร้อนออกมาจากซีพียูให้เร็วที่สุดและจะต้องใช้พัดลมเป่าเพื่อระบายความร้อนออกไป
1.2.5. บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket) ของซีพียู สามารถแบ่งเป็น 4 แบบ 1) แบบตลับ(Cartridge) ใช้ส าหรับเสียบลงในช่องเสียบบนเมนบอร์ดที่เรียกว่าสล็อต(Slot) ซึ่ง ซีพียูแต่ละค่ายจะใช้Slot ไม่เหมือนกัน ในปัจจุบันได้เลิกผลิตแล้ว
1.2.6. อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink) ขณะที่ซีพียูท างานจะเกิดความร้อนค่อนข้างมาก จึงต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า ฮีตซิงค์(Heat Sink) มาช่วยพาความร้อนออกมาจากซีพียูให้เร็วที่สุดและจะต้องใช้พัดลมเป่าเพื่อระบายความร้อนออกไป
1.2.7. สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease) เป็นสารชนิดหนึ่งที่ท ามาจากซิลิโคนผสมกับสารน าความร้อนบางชนิด เช่น Zinc Oxide ซึ่งมี คุณสมบัติเป็นตัวกลางในการน าพาความร้อนได้ดี มักใช้ทาฉาบไว้บางๆ
1.3. หน่วยความจ า
1.3.1. โครงสร้างของล าดับขั้นหน่วยความจ
1.3.2. รีจิสเตอร์(Register)
1.3.3. แคช(Cache)
1.3.4. หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)
1.4. หน่วยความจำชั่วคราวแบ่งออกเป็น2
1.4.1. Dynamic RAM(DRAM) เป็นหน่วยความจ าที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัด ประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัวcapacitor เป็นระยะอยู่เสมอเพื่อที่จะได้สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ได้
1.4.2. Static RAM(SRAM) ในSRAM ค่าไบนารี่“0” หรือ“1” จะถูกเก็บไว้ด้วยflip-flop logic gate ซึ่งสามารถเก็บค่าไว้ในตัวเองได้นานตราบเท่าที่มีพลังงานไฟฟ้าป้อนให้อย่างต่อเนื่อง โดยไม่ต้องอาศัย การถ่ายเทประจุไฟฟ้าเหมือนกับที่เกิดขึ้นในDRAM
1.5. หน่วยความจำชั่วคราวแบ่งออกเป็น2 โมดูล ดังนี้ 1) SIMM หรือSingle In-line Memory Module
1.5.1. SIMM หรือSingle In-line Memory Module โดยModule ชนิดนี้ จะรองรับdata path
1.5.2. DIMM หรือDual In-line Memory Module โดยModule นี้มีdata path 64 บิต ทั้ง สองด้านของcircuited board จะให้สัญญาณที่ต่างกัน
1.6. หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read
1.7. หน่วยความจำสำรอง
1.8. หน่วยแสดงผล
1.8.1. จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์ คือ เกิดจากคอมพิวเตอร์ส่ง สัญญาณให้เกิดการยิงแสงอิเล็กตรอนไปยังพื้นผิวของจอภาพ
1.8.2. จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์ คือ เกิดจากคอมพิวเตอร์ส่ง สัญญาณให้เกิดการยิงแสงอิเล็กตรอนไปยังพื้นผิวของจอภาพ
1.8.3. พลอตเตอร์ (Plotter) คือ เครื่องวาดลายเส้นท างานโดยอาศัยแขนจับปากกาลากลายเส้นในแนวแกน X-Y บนกระดาษเช่นเดียวกับการเขียนด้วยปากกาหรือดินสอ
2. เมนบอร์ด (Mainboard,
2.1. ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU
2.2. ชิปเซ็ต(Chip set) เป็นองค์ประกอบหลักที่ถูกติดตั้งอย่างถาวรบนเมนบอร์ด ไม่สามารถถอดหรือ เปลี่ยนแปลงได้ชิปเซ็ตมีความส าคัญอย่างมาก
2.3. ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot) หน่วยความจ าRAM จะมีลักษณะเป็นแผงที่มีความยาวจ านวนขา(Pin) และรอยบากที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการออกแบบช่องเสียบให้ตรงชนิดของRAM ที่จะน ามาใช้
2.4. ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot) Bus หมายถึง ช่องทางการ ขนถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ระบบ BUS ทางกายภาพ คือสาย ทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ
2.5. Bios (Basic Input/Output System) คือ โปรแกรมเก็บไว้ในรอมและเป็นโปรแกรมที่ไมโครโพรเซสเซอร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เรียกใช้เป็นโปรแกรมแรกตั้งแต่เปิดเครื่อง
2.6. ถ่านหรือแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ไบออสเป็นอุปกรณ์ที่อยู่บนเมนบอร์ด แบตเตอรี่ที่ใช้จะเป็นแบบลิเธียม เนื่องจากมีความ คงทน โดยมีอายุการใช้งานเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ3 ปี
2.7. ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector) เป็นจุดที่ใช้เสียบเข้ากับหัวต่อหลักของสายที่มาจากPower
2.8. ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector) เป็นขั้วต่อสัญญาณที่ใช้เชื่อมต่อเข้ากับสายไฟสีต่างๆ ที่เชื่อมโยงมาจากปุ่มสวิทช์และไฟแสดงสถานะ ที่อยู่บริเวณด้านหน้าของตัวเครื่อง รวมทั้งล
2.9. จัมเปอร์(Jumper) ใช้ก าหนดการท างานของเมนบอร์ด ซึ่งจัมเปอร์ที่เป็นตัวหลักได้แก่ จัมเปอร์ส าหรับก าหนดความเร็ว ของบัสและจัมเปอร์ส าหรับตั้งตัวคูณของซีพียูเพื่อก าหนดว่าจะให้ท างานที่ตามความเร็วเท่าไร
2.10. จัมเปอร์(Jumper) ใช้ก าหนดการท างานของเมนบอร์ด ซึ่งจัมเปอร์ที่เป็นตัวหลักได้แก่ จัมเปอร์ส าหรับก าหนดความเร็ว ของบัสและจัมเปอร์ส าหรับตั้งตัวคูณของซีพียูเพื่อก าหนดว่าจะให้ท างานที่ตามความเร็วเท่าไร
3. อุปกรณ์เพิ่มเติม
3.1. 1) การ์ดแสดงผล(Graphic card) ภาพในจอมอนิเตอร์นั้นสร้างขึ้นจากจุดเล็กๆ จ านวนมากหลายล้าน จุดที่เรียกว่าพิกเซล(pixels) ในการสร้างจุดเล็กๆเหล่านี้ขึ้นมาเป็นภาพ เครื่องคอมพิวเตอร์ต้องการอุปกรณ์ บางอย่างที่สามารถแปลงข้อมูลไบนารีจากCPU
3.2. การ์ดแสดงสัญญาณเสียง(Sound Card) เป็นอุปกรณ์สร้างและจัดการกับระบบเสียงทั้งหมดในเครื่อง คอมพิวเตอร์ เช่น เล่นไฟล์เสียงในรูปแบบต่างๆ สร้างเสียงดนตรีตามค าสั่งแบบMIDI บันทึกและแปลงเสียงลง เป็นไฟล์แบบดิจิตอล ตลอดจนผสมเสียงจากหลายๆแหล่งที่มาเข้าด้วยกัน
3.3. ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่างๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์ ซอฟต์แวร์จึงรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ท าให้คอมพิวเตอร์ท างานได้
4. ประเภทของซอฟต์แวร์
4.1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดแล้วแปลความหมายให้ คอมพิวเตอร์เข้าใจน าข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือน
4.1.1. ระบบปฏิบัติการ
4.1.2. ตัวแปลภาษา(Translator
5. . การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
5.1. หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
5.1.1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น
5.1.2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
6. หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
6.1. งบประมาณในการจัดซื้อ
6.2. ประเภทของงานที่น าคอมพิวเตอร์มาใช้
6.3. สมรรถนะของเครื่อง
6.4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
7. องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
7.1. ฮาร์ดแวร์
7.1.1. ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น
7.2. ซอฟต์แวร์
7.2.1. โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์
7.3. บุคลากร
7.3.1. ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ
8. หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
8.1. หน่วยประมวลผล (Processing Unit)
8.1.1. าคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หน้าที่หลัก ของหน่วยนี้คือ น าเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจ ามาท าการคิดค านวณประมวลผลข้อมูลทาง คณิตศาสตร์(Arithmetic Operation) และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์(Logical
8.2. หน่วยความจำ(Memory Unit)
8.2.1. หน่วยแสดงผล(Output Unit) หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ
8.3. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
8.3.1. ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ที่หน่วยความจ า ซึ่งอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีมากมาย
8.4. หน่วยแสดงผล(Output Unit)
8.4.1. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ กันตามแต่ละอุปกรณ์ เช่น สัญญาณภาพออกสู่หน้าจอและงานพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ เป็นต้น