ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. 2.คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

1.1. อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink)

1.1.1. 2.2.3 สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease) เป็นสารชนิดหนึ่งที่ท ามาจากซิลิโคนผสมกับสารน าความร้อนบางชนิด เช่น Zinc Oxide ซึ่งมี คุณสมบัติเป็นตัวกลางในการน าพาความร้อนได้ดี มักใช้ทาฉาบไว้บางๆ เพื่อไม่ให้มีช่องว่างระหว่างซีพียูกับ Heat Sink และท าหน้าที่ช่วยในการถ่ายเทความร้อนจากซีพียูไปสู่Heat Sink ได้ดียิ่งขึ้น

1.1.1.1. 2.3 หน่วยความจ า 2.3.1 โครงสร้างของล าดับขั้นหน่วยความจำตามแผนภาพด้านบนหน่วยความจ าของเครื่องคอมพิวเตอร์มีการจัดโครงสร้างเป็นแบบล าดับชั้น ซึ่ง ชั้นสูงสุดและอยู่ใกล้กับโปรเซสเซอร์มากที่คือ รีจีสเตอร์(Register)ที่อยู่ภายในโปรเซสเซอร์

1.1.1.2. 2.3.2 รีจิสเตอร์(Register) เป็นหน่วยความจ าที่มีความจุน้อยสุด มีความเร็วสูงสุด และมีราคาแพงสุด โดยถูกสร้างเป็น ส่วนหนึ่งของชิปหน่วยประมวลผลกลาง ใช้เก็บข้อมูลเข้าและผลลัพธ์ตามที่ระบุไว้ในแต่ละค าสั่งของชุดค าสั่ง ของหน่วยประมวลผลกลาง

1.1.1.2.1. 2.3.3 แคช(Cache) แคชสร้างขึ้นมาเพื่อให้เป็นหน่วยความจ าที่ท างานได้เร็วทีสุด ท าหน้าที่เก็บส าเนาข้อมูลบางส่วน ในหน่วยความจ าหลักเอาไว้ เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้ามากขึ้น ช่วยให้สามารถใส่Cache เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของ ชิพโปรเซสเซอร์ได้ ซึ่งเรียกว่าon-chip cache

1.1.1.2.2. 2.3.4 หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM) คุณลักษณะที่ส าคัญของRAM มีอยู่2 ประการคือ สามารถอ่านหรือบันทึกข้อมูลได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็วด้วยการใช้สัญญานไฟฟ้า และเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว RAM ต้องได้รับพลังงานไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา เมื่อไม่มีพลังงานไฟฟ้าข้อมูลทั้งหมดที่เก็บอยู่ในหน่วยความจ าก็จะหายไปทันที

1.1.2. 2.3.4.1 หน่วยความจ าชั่วคราวแบ่งออกเป็น2 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 1) Dynamic RAM(DRAM) เป็นหน่วยความจ าที่ประกอบด้วยเซลล์ที่ใช้เก็บข้อมูลที่ใช้อัด ประจุไฟฟ้าเข้าไปเก็บไว้ในตัวcapacitor เป็นระยะอยู่เสมอเพื่อที่จะได้สามารถเก็บรักษาข้อมูลเอาไว้ได้

1.1.3. 2.3.4.2 หน่วยความจ าชั่วคราวแบ่งออกเป็น2 โมดูล ดังนี้ 1) SIMM หรือSingle In-line Memory Module โดยModule ชนิดนี้ จะรองรับdata path 32 bit โดยทั้งสองด้านของcircuit board จะให้สัญญาณเดียวกัน 2) DIMM หรือDual In-line Memory Module โดยModule นี้มีdata path 64 บิต ทั้ง สองด้านของcircuited board จะให้สัญญาณที่ต่างกัน

1.1.3.1. 2.3.5 หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจ าที่มีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ได้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าหล่อเลี้ยง แม้จะ ปิดเครื่องไปแล้วเมื่อเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็ยังอยู่เหมือนเดิม นิยมใช้เป็นหน่วยความจ าส าหรับเก็บ ชุดค าสั่งในการเริ่มต้นระบบหรือชุดค าสั่งที่ส าคัญๆ ของคอมพิวเตอร์ ข้อเสียของรอมคือจะไม่สามารถแก้ไข หรือเพิ่มเติมชุดค าสั่งได้ในภายหลัง รวมทั้งความเร็วในการท างานช้ากว่าหน่วยความจ าแบบแรม

1.1.3.2. 2) ออปติคัสดิสก์ (Optical Disk) ใช้เทคโนโลยีของแสงเลเซอร์ท าให้สามารถเก็บข้อมูลได้จ านวน มหาศาลในราคาไม่แพงมากนัก ในปัจจุบันมีอยู่หลายแบบซึ่งใช้เทคโนโลยีต่างกันไป เช่น a. CD-ROM อ่านข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถแก้ไข หรือลบข้อมูลในแผ่นCD ได้ b. CD-R เป็นCD ที่สามารถเขียนข้อมูลที่เรียกว่าการburning ได้ครั้งเดียวสามารถอ่านได้ หลายครั้ง แต่ไม่สามารถลบข้อมูลได้ ปัจจุบันมีความจุตั้งแต่650 MB ขึ้นไป c. CD-RW คล้ายกับCD-R ต่างกันตรงที่สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้คือสามารถอ่านเขียน ข้อมูลเพิ่มได้หลายครั้ง d. DVD สามารถบันทึกข้อมูลได้ถึง 4.7 GBขึ้นไป ซึ่งปัจจุบันสามารถบันทึกข้อมูลได้ถึง17 GB 3) เทปแม่เหล็ก(Magnetic Tape) มีการใช้แม่เหล็กเคลือบบนแถบพลาสติกและพันรอบม้วนเทป 2 ม้วน โดยทั่วไปมีความยาวหลายพันฟุตและมักใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น ระบบเมนเฟรม a. ข้อดี คือ ราคาไม่แพง และมีการท างานที่เชื่อถือได้เหมาะกับการส ารองข้อมูล b. ข้อเสีย คือ ท างานช้าเพราะการเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบตามล าดับ

1.1.3.2.1. 2.3.6 หน่วยความจ าส ารอง 1) ฮาร์ดดิสก์(Hard disk) ท ามาจากแผ่นโลหะแข็งเรียกว่าPlatters ท าให้เก็บข้อมูลได้มากและ ท างานได้รวดเร็ว ส่วนมากจะถูกยึดติดอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีบางรุ่นที่เป็นแบบเคลื่อนย้ายได้ โดย จะเป็นแผ่นแม่เหล็กเพียงแผ่นเดียวอยู่ในกล่องพลาสติกบางๆ สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่1กิกะไบต์ขึ้นไป A. ชนิดของHard Disk แบ่งตามการเชื่อมต่อ (Interface) I. แบบIDE (Integrate Drive Electronics) เป็นอินเทอร์เฟซรุ่นเก่าที่มีการเชื่อมต่อโดยใช้ สายแพขนาด40 เส้น โดยสายแพ1 เส้นสามารถที่จะต่อHard Disk ได้2 ตัวบนเมนบอร์ดนั้นจะมีขั้วต่อIDE อยู่ 2 ขั้วด้วยกัน ท าให้สามารถพ่วงต่อHard Disk ได้สูงสุด4 ตัว ความเร็วสูงสุดในการถ่ายโอนข้อมูลอยู่ที่8.3 เมกะ ไบต์/ วินาทีส าหรับขนาดความจุเพียงแค่504 MB

1.1.3.3. 2.4 หน่วยแสดงผล เป็นส่วนที่แสดงข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ไปสู่มนุษย์ เราเรียกเครื่องมือในส่วนนี้ว่า อุปกรณ์แสดงผล (Output Devices) สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภทตามลักษณะของข้อมูลที่แสดงออกมา ได้แก่ อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องไม่ได้(Softcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูล ที่มนุษย์ไม่สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ข้อมูลตัวอักษรหรือภาพบนจอภาพ หรือข้อมูลเสียงจาก ล าโพง เรียกข้อมูลประเภทนี้ว่าSoftcopy อุปกรณ์แสดงผลที่มนุษย์จับต้องได้(Hardcopy Output Device) หมายถึง อุปกรณ์แสดงข้อมูลที่ มนุษย์สามารถจับต้องข้อมูลที่แสดงนั้นได้ เช่น ตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ เป็นต้น เราเรียกข้อมูลประเภทนี้ ว่าHardcopy ตัวอย่างอุปกรณ์แสดงผล ได้แก่

1.1.3.3.1. 2.5 เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) เป็นหัวใจส าคัญที่สุดที่อยู่ภายในเครื่อง เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางอยู่ นั่น คือส่วนที่เรียกว่า"เมนบอร์ด" ส่วนประกอบหลักที่ส าคัญบนเมนบอร์ด

1.1.3.3.2. 3) ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot) หน่วยความจ าRAM จะมีลักษณะเป็นแผงที่มีความยาวจ านวนขา(Pin) และรอยบากที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องมีการออกแบบช่องเสียบให้ตรงชนิดของRAM ที่จะน ามาใช้

1.1.3.3.3. 4) ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot) Bus หมายถึง ช่องทางการ ขนถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ระบบ BUS ทางกายภาพ คือสาย ทองแดงที่วางตัวอยู่บนแผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณ์ต่างๆ ความกว้างของระบบบัส จะนับขนาดข้อมูลที่วิ่งอยู่โดยจะมีหน่วยเป็นบิต(bit) บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ บัสจะมีความกว้างหลาย ขนาดขึ้นอยู่กับรุ่นของเครื่องพีซี

1.1.4. 2.1.1 อุปกรณ์รับเข้าแบบกด 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นอุปกรณ์ส าหรับน าเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานท าหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์ โดยส่งค าสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่หน่วยประมวลผลใน ระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จ านวนมาก ซึ่ง มีลักษณะเป็นแผ่นบางๆ ที่ถูกฉาบด้วยหมึกที่เป็นตัวน าไฟฟ้า เมื่อถูกกดจนติดกันก็จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัว วงจร

1.1.4.1. 6) ถ่านหรือแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ไบออสเป็นอุปกรณ์ที่อยู่บนเมนบอร์ด แบตเตอรี่ที่ใช้จะเป็นแบบลิเธียม เนื่องจากมีความ คงทน โดยมีอายุการใช้งานเฉลี่ยจะอยู่ที่ประมาณ3 ปี ลักษณะจะคล้ายกระดุมหรือเหรียญสีเงิน ถูกวางอยู่ใน เบ้าพลาสติกสีด าและอาจมีแผ่นโลหะติดอยู่เป็นขั้วไฟส าหรับต่อเข้ากับเมนบอร์ด

1.2. 2.1.2 อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง 1) เมาส์(Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การใช้งานง่ายขึ้นด้วยการใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้ไปยังต าแหน่ง ต่าง ๆ บนจอภาพ ในขณะที่สายตาจับอยู่ที่จอภาพก็สามารถใช้มือลากเมาส์ไปมาได้ระยะทางและทิศทางของ ตัวชี้จะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเลื่อนเมาส์ เมาส์แบ่งได้เป็นสองแบบคือ เมาส์แบบทางกล (Mechanical) และเมาส์แบบใช้เแสง(Optical)

2. 4. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. 4.1 หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่างๆและธุรกิจขนาด เล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น ระบบ คอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์ซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพจนสามารถตอบสนองความ ต้องการได้ในราคาที่ถูกลง ค่าบ ารุงรักษาต่ า การใช้งานสะดวกขึ้นและมีซอฟต์แวร์ส าเร็จรูปให้เลือกใช้งาน จ านวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ เช่น การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในวง การศึกษา มีโปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เกิดขึ้นเป็นจ านวนมากให้ผู้สนใจได้เลือกศึกษาตาม ความต้องการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนและเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้วท าให้เกิดความเข้าใจ มากขึ้น นอกจากนี้สถานศึกษายังสามารถน าคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น งานบุคคล งานการเงิน- บัญชี งานพัสดุงานประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

2.1.1. 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน คือ

2.1.1.1. 1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง เนื่องจาก เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง สามารถเชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น (Local Area Network) และระบบ WAN (Wide Area Network) 2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ 3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาด ใหญ่ ท าหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพสูง ราคาแพง ต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ เช่น มีการควบคุมอุณหภูมิ เป็นต้น

2.1.2. หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องค านึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1. งบประมาณในการจัดซื้อ 2. ประเภทของงานที่น าคอมพิวเตอร์มาใช้ 3. สมรรถนะของเครื่อง 4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะพิจารณาในการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ รุ่นและ ความเร็วในการประมวลผลของ CPU ชนิดและขนาดของหน่วยความจ า RAM ขนาดของหน่วยความจ าแคช (Cache Lever 2) และขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบันเป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ ความเหมาะสมในการน ามาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือการเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้

2.1.2.1. 4.2 การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงานมีดังนี้

2.1.2.2. 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี

3. 1.องค์ประกอบและหลักการ ทำงานของคอมพิวเตอร์

3.1. สามารถอธิบายหลักการท างานของแต่ละหน่วยพอสังเขปได้ดังนี้ o หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยรับข้อมูลเป็นส่วนแรกที่ติดต่อกับผู้ใช้ หน้าที่หลักคือ ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ที่หน่วยความจ า ซึ่งอุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็นหน่วยรับข้อมูลมีมากมาย เช่น Mouse, Keyboard, Joystick, Touch Pad เป็นต้น o หน่วยประมวลผล (Processing Unit) หน่วยประมวลผลถือเป็นส่วนที่ส าคัญที่สุดของเครื่องคอมพิวเตอร์ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หน้าที่หลัก ของหน่วยนี้คือ น าเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจ ามาท าการคิดค านวณประมวลผลข้อมูลทาง คณิตศาสตร์(Arithmetic Operation) และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกศาสตร์(Logical Operation) จนได้ ผลลัพธ์ออกมาแล้วจึงค่อยส่งข้อมูลที่เป็นผลลัพธ์เหล่านั้นไปยังหน่วยแสดงผลต่อไป อุปกรณ์ที่ท าหน้าที่เป็น หน่วยประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอร์ก็คือ ซีพียู(Central Processing Unit) O หน่วยความจ า(Memory Unit) หน่วยความจ าเป็นหน่วยที่ส าคัญที่จะต้องท างานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด หน้าที่หลักคือ จดจ าและบันทึกข้อมูลต่างๆที่ถูกส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล จัดเก็บไว้ชั่วคราว ก่อนที่จะส่งต่อไปให้หน่วย ประมวลผล นอกจากนี้ยังท าหน้าที่เป็นเสมือนกระดาษทดส าหรับให้หน่วยประมวลผลใช้คิดค านวณ ประมวลผลข้อมูลต่างๆ ด้วย o หน่วยแสดงผล(Output Unit) หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ กันตามแต่ละอุปกรณ์ เช่น สัญญาณภาพออกสู่หน้าจอและงานพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ เป็นต้น

3.2. 2.1.2 อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

3.3. 2.1.3 อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

3.4. 2.1.4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

3.5. 2.1.5 อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

3.6. 2.1.6 อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

4. 3. ซอฟต์แวร์

4.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย

4.2. 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages) คือ เลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดค าสั่งและใช้สั่งงาน คอมพิวเตอร์การใช้ภาษาเครื่องถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจ และจดจ าภาษาเครื่องได้ยาก ดังนั้นจึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร

4.3. 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลียังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มากโดยใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

4.4. 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 ชุดค าสั่งมีลักษณะ เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ท าให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดค าสั่งง่ายขึ้นเนื่องจากภาษาระดับสูง ใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องมีอยู่2 ชนิด คือ คอมไพเลอร์(Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์(Interpreter)

4.4.1. 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL) เป็นภาษาที่ไม่ต้องก าหนดขั้นตอนการ ท างาน(Non-Procedural) เพียงแต่สั่งว่าต้องการข้อมูลอะไร ก็สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ตามต้องการ ตัวอย่าง ภาษายุคที่4 เช่น ชุดค าสั่งภาษาSQL (Structured Query Language)

4.4.1.1. 3.1.5 ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages) เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ซึ่งจะมองทุกสิ่งเป็นวัตถุ (Object) โดยวัตถุจะประกอบด้วยข้อมูล(Data) และวิธีการ(Method) และจะมีคลาส(Class) เป็นตัวก าหนด คุณสมบัติของวัตถุ รวมทั้งความสามารถในการถ่ายทอดคุณสมบัติ(Inheritance) การEncapsulation และ การน ากลับมาใช้ใหม่ ภาษาเชิงวัตถุสามารถน ามาพัฒนาระบบงานที่มีความซับซ้อนได้เป็นอย่างดี ตัวอย่าง ภาษานี้เช่นVisual Basic, C++ และJAVA เป็นต้น

4.5. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ได้แก่ 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดแล้วแปลความหมายให้ คอมพิวเตอร์เข้าใจน าข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือน าออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลบนหน่วยความจ า ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่น ๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการ แปลภาษาต่าง ๆ หน้าที่หลักของซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย

4.6. 1.) ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี เช่น ดอส(Disk Operating System: DOS) วินโดวส์(Windows) โอเอสทู(OS/2) ยูนิกซ์(UNIX)

4.6.1. 2.) ตัวแปลภาษา(Translator Program) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จ าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

4.6.2. 3.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์ส าเร็จและ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์ส าเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลค า ซอฟต์แวร์ตารางท างาน ฯลฯ

4.6.2.1. 1) ซอฟต์แวร์ส าเร็จ ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์ส าเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วน าออกมาจ าหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง

4.6.2.2. 2) ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะส าหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง กับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษา