ระบบคอทพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอทพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอทพิวเตอร์

1. ซอฟต์แวร์

1.1. ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่างๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์ ซอฟต์แวร์จึงรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ท าให้คอมพิวเตอร์ท างานได้

1.1.1. ภาษาคอมพิวเตอร์

1.1.2. ประเภทของซอฟต์แวร์

1.1.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ

1.1.2.1.1. ระบบปฏิบัติการ

1.1.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์

1.1.2.2.1. ซอฟต์แวร์ส าเร็จ

1.1.2.2.2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

2. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1.1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

2.1.2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์

2.2. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2.2.1. การเลือกโปรแกรมส าหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงานมีดังนี้

2.2.1.1. 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี

3. องค์ประกอบและหลักการท างานของคอมพิวเตอร์

3.1. ฮาร์ดแวร์

3.1.1. ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

3.2. ซอฟต์แวร์

3.2.1. โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.3. บุคลากร

3.3.1. ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

4. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

4.1. หน่วยรับข้อมูล

4.1.1. อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

4.1.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

4.1.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

4.1.1.3. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

4.1.1.4. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

4.1.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

4.1.1.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

4.2. หน่วยประมวลผลกลาง

4.2.1. หน่ ว ยป ร ะ ม ว ล ผ ล กล าง ( Central Processing Unit : CPU) ห รือไ มโ ค รโพ รเ ซ ส เ ซอ ร์ ของ ไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่น าค าสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจ ามาแปลความหมายและกระท าตาม ค าสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ซึ่งแทนได้ด้วยรหัสเลขฐานสอง องค์ประกอบภายในของซีพียูที่ส าคัญมี รายละเอียดดังนี้

4.2.1.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU)

4.2.1.2. หน่วยค านวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU)

4.2.1.2.1. สัญญาณนาฬิกาภายในซีพียู

4.2.1.2.2. สัญญาณภายนอกซีพียู

4.2.1.2.3. หน่วยความจ าแคช(Cache memory)

4.3. หน่วยความจำ

4.3.1. โครงสร้างของลำดับขั้นหน่วยความจำ

4.3.2. รีจิสเตอร์(Register)

4.3.3. แคช(Cache)

4.3.4. หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

4.3.5. หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

4.3.6. หน่วยความจ าส ารอง

4.4. หน่วยแสดงผล

4.5. เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)

4.5.1. ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket)

4.5.2. ชิปเซ็ต(Chip set)