1. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
1.1. หน่วยรับข้อมูล
1.1.1. อุปกรณ์รับเข้าแบบกด
1.1.2. อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ตำแหน่ง
1.1.3. อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส
1.1.4. อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา
1.1.5. อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ
1.1.6. อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจำเสียง
1.2. หน่วยประมวลผลกลาง
1.2.1. หน่วยควบคุม(Control Unit : CU)
1.2.2. หน่วยคำนวณและตรรกะ(Arithmetic and Logic Unit : ALU)
1.2.2.1. บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket)
1.2.2.2. อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink)
1.2.2.3. สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease)
1.2.3. หน่วยความจำ
1.2.3.1. โครงสร้างของลำดับขั้นหน่วยความจำ
1.2.3.2. รีจิสเตอร์(Register)
1.2.3.3. แคช(Cache)
1.2.3.4. หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)
1.2.3.5. หน่วยความจำหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)
1.2.3.6. หน่วยความจำสำรอง
1.2.4. หน่วยแสดงผล
1.2.5. เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)
1.2.5.1. ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket)
1.2.5.2. ชิปเซ็ต(Chip set)
1.2.5.3. ช่องสำหรับติดตั้งหน่วยความจำ(Memory slot)
1.2.5.4. ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ
1.2.5.5. Bios (Basic Input/Output System)
1.2.5.6. ถ่านหรือแบตเตอรี่
1.2.5.7. ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector)
1.2.5.8. ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector)
1.2.5.9. จัมเปอร์(Jumper)
1.2.5.10. ขั้วต่อสำหรับหน่วยความจำสำรอง
1.2.6. อุปกรณ์เพิ่มเติม
1.2.6.1. การ์ดแสดงผล(Graphic card)
1.2.6.2. การ์ดแสดงสัญญาณเสียง(Sound Card)
2. ซอฟต์แวร์
2.1. ภาษาคอมพิวเตอร์
2.1.1. ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
2.1.2. ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)
2.1.3. ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
2.2. ประเภทของซอฟต์แวร์
2.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ
2.2.1.1. ระบบปฏิบัติการ
2.2.1.1.1. ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ
2.2.1.2. ตัวแปลภาษา(Translator Program)
2.2.1.2.1. ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จำเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
2.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
2.2.2.1. ซอฟต์แวร์สำเร็จ
2.2.2.2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ
3. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
3.1. หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
3.1.1. เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน
3.1.2. การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์
3.1.2.1. หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
3.1.2.2. 1. งบประมาณในการจัดซื้อ 2. ประเภทของงานที่น าคอมพิวเตอร์มาใช้ 3. สมรรถนะของเครื่อง 4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
3.2. การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3.2.1. การเลือกโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบ คอมพิวเตอร์และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะ ของงานมีดังนี้
3.2.1.1. 1. ตรงกับความต้องการสามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์ 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้คำแนะนำต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี
4. องค์ประกอบและหลักการท างานของคอมพิวเตอร์
4.1. ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ
4.2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ
4.3. บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์
5. หลักการท างานของระบบคอมพิวเตอร์
5.1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
5.1.1. หน้าที่หลักคือ ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็น สัญญาณข้อมูลส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ที่หน่วยความจ า
5.2. หน่วยประมวลผล (Processing Unit)
5.2.1. หน้าที่หลัก ของหน่วยนี้คือ นำเอาข้อมูลที่ถูกจัดเก็บหรือพักไว้ในหน่วยความจำมาทำการคิดคำนวณประมวลผลข้อมูลทาง คณิตศาสตร์(Arithmetic Operation)
5.3. หน่วยความจ า(Memory Unit)
5.3.1. หน่วยความจำเป็นหน่วยที่สำคัญที่จะต้องทำงานร่วมกันกับหน่วยประมวลผลอยู่โดยตลอด หน้าที่หลักคือ จดจำและบันทึกข้อมูลต่างๆที่ถูกส่งมาจากหน่วยรับข้อมูล
5.4. หน่วยแสดงผล(Output Unit)
5.4.1. หน่วยแสดงผลเป็นหน่วยที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมาในรูปแบบต่างๆ