ระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบคอมพิวเตอร์

1. ซอฟต์แวร์

1.1. 3.1ภาษาคอมพิวเตอร์คือ สื่อกลางส าหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละ ยุคประกอบด้วย

1.1.1. 3.1.1 ภาษาเครื่อง (Machine Languages)

1.1.2. 3.1.2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Languages)

1.1.3. 3.1.3 ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)

1.1.4. 3.1.4 ภาษายุคที่4 (Fourth-Generation Languages: 4GL)

1.1.5. 3.1.5 ภาษาเชิงวัตถุ(Object-Oriented Languages)

1.2. 3.2 ประเภทของซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น2 ประเภท ได้แก่

1.2.1. 3.2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ท า หน้าที่ด าเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากคีย์บอร์ดแล้วแปลความหมายให้ คอมพิวเตอร์เข้าใจน าข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือน าออกไปยังเครื่องพิมพ์

1.2.1.1. 1.) ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดี

1.2.1.2. 2.) ตัวแปลภาษา(Translator Program) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จ าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ใน การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง

1.2.2. 3.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถ น ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์ส าเร็จและ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์ส าเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลค า ซอฟต์แวร์ตารางท างาน ฯลฯ

1.2.2.1. 1) ซอฟต์แวร์ส าเร็จ ซอฟต์แวร์ส าเร็จ(Package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์ส าเร็จเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้นแล้วน าออกมาจ าหน่าย

1.2.2.2. 2) ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะส าหรับงานแต่ละประเภทให้ตรง กับความต้องการของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษา

2. การใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1. 4.1 หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน

2.1.1. 4.1.1 เลือกใช้คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ

2.1.2. 4.1.2 การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อน ามาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบ งานในอนาคต เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก สิ่งที่ควรพิจารณา ในการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน

2.2. 4.2 การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

2.2.1. 1. ตรงกับความต้องการ สามารถท างานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้

2.2.2. 2. มีประสิทธิภาพ สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง

2.2.3. 3. ง่ายต่อการใช้งาน สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่ายและมีเมนูช่วยเหลือในระหว่างการใช้งาน

2.2.4. 4. มีความยืดหยุ่น สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน สามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรม อื่น ๆ ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์

2.2.5. 5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ สามารถอธิบายหรือให้ค าแนะน าต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น

2.2.6. 6. การรับรองผลิตภัณฑ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน มีบริการให้ค าปรึกษาเมื่อมีปัญหา จากการใช้ผลิตภัณฑ์ให้บริการ Upgrade ฟรี

3. องค์ประกอบคอมพิวเตอร์

3.1. ฮาร์ดแวร์ คือ ตัวเครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุก ๆ ชิ้น รวมถึงอุปกรณ์ภายนอก (Peripheraldevice) อื่นๆ เช่น จอภาพ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องพิมพ์ฮาร์ดดิสก์ แผงวงจรหลัก (Mainboard) แรม การ์ดจอ ซีพียู เป็นต้น

3.2. ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมหรือชุดข้อมูลค าสั่งต่าง ๆ ที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ท างานตามวัตถุประสงค์

3.3. บุคลากร คือ ผู้ใช้งานหรือผู้ที่ท างานอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงโปรแกรมเมอร์นักวิเคราะห์ ระบบ และอื่นๆ

4. คุณลักษณะของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง

4.1. 2.1 หน่วยรับข้อมูล อุปกรณ์รับเข้ามีหลายประเภท แต่ละประเภทมีวิธีการในการน าเข้าข้อมูลที่ต่างกัน สามารถแบ่ง ประเภทของอุปกรณ์รับเข้าตามลักษณะการรับข้อมูลเข้าได้ดังนี้

4.1.1. 2.1.1 อุปกรณ์รับเข้าแบบกด

4.1.1.1. 1) แป้นพิมพ์ (Keyboard)

4.1.2. 2.1.2 อุปกรณ์รับเข้าแบบชี้ต าแหน่ง

4.1.2.1. 1) เมาส์(Mouse)

4.1.2.2. 2) อุปกรณ์ชี้ต าแหน่งส าหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

4.1.2.3. 3) ก้านควบคุม(Joystick)

4.1.3. 2.1.3 อุปกรณ์รับเข้าระบบปากกา

4.1.3.1. 1) ปากกาแสง(Light pen)

4.1.3.2. 2) เครื่องอ่านพิกัด(Digitizing tablet) หรือ แผ่นระนาบกราฟิก(graphic tablet)

4.1.4. 2.1.4 อุปกรณ์รับเข้าแบบจอสัมผัส

4.1.5. 2.1.5 อุปกรณ์รับเข้าแบบกวาดตรวจ

4.1.5.1. 1) เครื่องอ่านรหัสแท่ง(Barcode Reader)

4.1.5.2. 2) เครื่องกราดตรวจ(Scanner)

4.1.5.3. 3) กล้องถ่ายภาพดิจิทัล (Digital camera)

4.1.6. 2.1.6 อุปกรณ์รับเข้าแบบจดจ าเสียง

4.2. 2.2 หน่วยประมวลผลกลาง

4.2.1. 2.2.1 บรรจุภัณฑ์(Packaging) และฐานรอง(Socket)

4.2.1.1. 1) แบบตลับ(Cartridge)

4.2.1.2. 2) แบบBGA (Ball Grid Array)

4.2.1.3. 3) แบบPGA (Pin Grid Array)

4.2.1.4. 4) แบบLGA (Land Grid Array)

4.2.2. 2.2.2 อุปกรณ์ช่วยระบายความร้อนให้ซีพียู(Heat Sink)

4.2.3. 2.2.3 สารเชื่อมความร้อน(Thermal Grease)

4.3. 2.3 หน่วยความจำ

4.3.1. 2.3.1 โครงสร้างของล าดับขั้นหน่วยความจำ

4.3.2. 2.3.2 รีจิสเตอร์(Register)

4.3.3. 2.3.3 แคช(Cache)

4.3.4. 2.3.4 หน่วยความจ าหลักแบบแก้ไขได้(Random-Access Memory : RAM)

4.3.4.1. 1) Dynamic RAM(DRAM)

4.3.4.2. 2) Static RAM(SRAM)

4.3.5. 2.3.5 หน่วยความจ าหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว(Read Only Memory : ROM)

4.3.6. 2.3.6 หน่วยความจ าส ารอง

4.3.6.1. 1) ฮาร์ดดิสก์(Hard disk)

4.3.6.2. 2) ออปติคัสดิสก์ (Optical Disk)

4.3.6.3. 3) เทปแม่เหล็ก(Magnetic Tape)

4.4. 2.4 หน่วยแสดงผล

4.4.1. 1) จอภาพ(Monitor) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงข้อมูลออกมาในลักษณะของข้อความและรูปภาพ หลักการในการแสดงภาพหรือข้อมูลบนจอจะคล้ายกับการท างานของจอโทรทัศน์ คือ เกิดจากคอมพิวเตอร์ส่ง สัญญาณให้เกิดการยิงแสงอิเล็กตรอนไปยังพื้นผิวของจอภาพ ซึ่งฉาบไว้ด้วยสารฟอสฟอรัสที่สามารถเรืองแสง ได้เมื่อโดนอิเล็กตรอนตกกระทบ

4.4.2. 2) เครื่องพิมพ์ (Printer) คือ อุปกรณ์แสดงผลลัพที่ใช้พิมพ์ข้อมูลที่เป็นเอกสาร ข้อความ และรูปภาพให้ ไปปรากฏบนกระดาษ เพื่อสามารถน าไปใช้ในงานอื่นๆ ได้

4.4.3. 3) พลอตเตอร์ (Plotter) คือ เครื่องวาดลายเส้นท างานโดยอาศัยแขนจับปากกาลากลายเส้นในแนวแกน X-Y บนกระดาษเช่นเดียวกับการเขียนด้วยปากกาหรือดินสอ โดยพลอตเตอร์จะรับสัญญาณจากเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อใช้ควบคุมการเลื่อนปากกาไปบนกระดาษซึ่งสามารถเลือกสีหรือปากกาที่มีเส้นหนาบางได้

4.5. 2.5 เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)

4.5.1. 1) ซ็อคเก็ตซีพียู(CPU socket) หรือสล็อตซีพียู (CPU slot)

4.5.2. 2) ชิปเซ็ต(Chip set)

4.5.3. 3) ช่องส าหรับติดตั้งหน่วยความจ า(Memory slot)

4.5.4. 4) ระบบบัสและช่องส าหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ(Bus & Expansion slot) Bus

4.5.5. 5) Bios (Basic Input/Output System)

4.5.6. 6) ถ่านหรือแบตเตอรี่

4.5.7. 7) ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ (Power Connector)

4.5.8. 8) ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง (Front Panel Connector)

4.5.9. 9) จัมเปอร์(Jumper)

4.5.10. 10) ขั้วต่อส าหรับหน่วยความจ าส ารอง

4.5.11. 11) พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน(Serial port & Parallel port)

4.5.12. 12) พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์

4.5.13. 13) พอร์ตUSB

4.5.14. 14) Form Factor