การจัดการแฟรนไชส์และคู่ค้าทางธุรกิจ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจัดการแฟรนไชส์และคู่ค้าทางธุรกิจ by Mind Map: การจัดการแฟรนไชส์และคู่ค้าทางธุรกิจ

1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจแฟรนไชส์

1.1. ระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย

1.1.1. เริ่มตั้งแต่ปี2526และมีการเติบโตช้า

1.1.2. ปัจจุบันมีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้น

1.1.3. ธุรกิจแรกเป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้า

1.2. การพัฒนาของระบบธุรกิจแฟรนไชส์

1.2.1. ทฤษฎีต้นทุน เป็นเครื่อมือที่ช่วยให้แฟรนไชส์ซอร์ขยายกิจการ

1.2.2. ทฤษฎีวงจรธุรกิจแฟรนไชส์

1.3. Franchise มาจากภาษาฝรั่งเศษ คือ Franchir แปลว่า สิทธิพิเศษ

2. หลักการที่สำคัญของธุรกิจแฟรนไชส์

2.1. แฟรนไชส์ คือ สิทธิทีอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างซอร์กับซี รวมทั้งการใช้เครื่องหมายการค้า

2.2. แฟรนไชส์ซี คือ ผู้ขอซื้อแฟรนไชส์

2.3. แฟรนไชส์ซอร์ คือ เจ้าของธุรกิจ/ผู้ขายแฟรนไชส์

2.4. ประเภทของแฟรนไชส์

2.4.1. Product and Brand Franchising

2.4.2. Business Format Franchising

2.4.3. Conversion Franchising

2.5. ลักษณะของแฟรนไชส์ที่ดี

2.5.1. ต้องมีปัจใจความสำเร็จ

2.5.2. เลือกธุรกิจที่ถูกต้อง

2.5.3. มีรบบบริหารจัดการที่ดี

2.5.4. มีกำไรและชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับ

2.6. รูปแบบของการให้สิทธิแฟรนไชส์

2.6.1. แฟรนไชส์แบบบุคคลหรือหน่วยเดียว

2.6.2. แฟรนไชส์แบบหลายหน่อยหรือแบบพัฒนาพื้นที่

2.6.3. แฟรนไซส์แบบรับช่วง

3. การจัดการและการจัดหาเงินทุน

3.1. การตลาดในธุรกิจแฟรนไชส์

3.1.1. Business To Business แฟรนไชส์ซอร์ทำการตลาดไปยังผู้ประกอบการใหม่

3.1.2. Business To Customer แฟรนไชส์ซอร์หรือซี ทำการตลาดไยังผู้บริโภค Marketing Mix

3.2. การตลาดสำหรัับแฟรนไชส์

3.2.1. 4 P's

3.2.2. หลักการจัดการ STP

3.3. แหล่งข้อมูลและแหล่งเงินทุน

3.3.1. ธ.พาณิชย์ SME Bank

3.3.2. ธ.ออมสิน

3.3.3. ธ.กสิกรไทย

3.3.4. ธ.กรุงเทพ

3.3.5. สสง.

3.3.6. สวทช

3.4. กลยุทธ์ทางการตลาดตามลักษณะของธุรกิจ

3.4.1. กลยุทธ์ในการขยายธุริจแฟรนไชส์

3.4.2. กลวิธีสร้างความเด่น

3.4.3. กลวิธีการสร้างโอกาส

3.4.4. กลยุทธ์เน้นผลประกอบการ

4. การพัฒนาธุรกิจให้เป็นแฟรนไชส์

4.1. ข้อเสียเปรียบของการเข้าร่วมแฟรนไชส์

4.1.1. สูญเสียอิสระภาพในการดำเนินธุรกิจ

4.1.2. ไม่มีหลักประกันความสำเร้จ

4.1.3. ค่าใช้จ่ายสูง

4.2. ความเป็นไปได้ในธุรกิจแฟรนไชส์

4.2.1. เคื่องหมายการค้าที่ได้รับการยอมรับ

4.2.2. การถ่ายโอนความเชี่ยวชาญ

4.2.3. บริการช่วยเหลือจากแฟรนไชส์ซอร์

4.3. กระบวนการสร้างธุรกิจให้เป็นแฟรนไชส์

4.3.1. แผนธุรกิจแฟรนไชส์

4.3.2. การออกแบบระบบปฏิบัติงาน

4.3.3. การสร้างมาตรฐานทางธุรกิจ

4.3.4. สิ่งสำคัญสำหรับผู้เป็นแฟรนไชส์ซอร์ต้องดำเนินการ

4.4. หลักการทำงานแบบ PDCA

4.4.1. P วางแผนงาน

4.4.2. D นำไปปฏิบัติ

4.4.3. C ดำเนินการตรวจสอบ

4.4.4. A พบปัญหาทำการปรับปรุง

5. กฎหมายและสัญญาธุรกิจแฟรนไชส์

5.1. การต่อสัญญา

5.1.1. แบบที่กำหนดว่าเมื่อสัญญาหมดถือว่าจบกัน

5.1.2. แบบที่กำหนดว่าเมือสัญยาหมดต่อออกไปโดยอัตโนมัติ

5.2. สัญญาต่างๆในธุรกิจแฟรนไส์

5.2.1. แฟรนไชส์กับตัวแทนทางการค้า

5.2.2. สัญญาจัดจำหน่าย

5.2.3. สัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา

5.2.4. การถ่ายทอดทางเทคโนโลยี

5.3. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

5.3.1. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

5.3.2. กฎหมายทรัพยืสินทางปัญญา

5.3.3. กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

5.4. การเลิกสัญญาแฟรนไชส์

5.4.1. ต้องมีการแจ้งให้รู้ร่วงหน้า

5.4.2. ต้องชำระหนี้หากยังมีคงค้างกันอยู่

6. หลักเกณฑ์และปัจใจในการเลือกลงทุน

6.1. หลักในการตัดสินใจลงทุนในธุรกิจแฟรนไชส์

6.1.1. ค่าธรรมเนียมแฟรนไชส์

6.1.2. การเลือกที่ตั้งร้าน

6.2. โครงสร้างค่าธรรมเนียม

6.2.1. ค่าธรรมเนียมเริ่มต้น

6.2.2. เงินรายงวด/ค่าธรรมเนียมการจัดการ

6.2.3. ค่ารอยัลตี้

6.2.4. ค่าการตลาด

6.3. การประเมิณเกี่ยวกับธุรกิจ

6.3.1. ประเมินด้านผู้ให้สิทธิ

6.3.2. ประเมินด้านการเป็นผู้ขอรับสิทธิ

6.3.3. ประมินด้านการตลาด

7. ความสัมพันธ์ของคู่ค้าทางธุรกิจและจริยธรรมในการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์

7.1. แนวทางในการสร้างความสัมพันธ์ของคู่ค้าทางธุรกิจ

7.1.1. ผลประโยชน์ของเจ้าของสิทธิ

7.1.1.1. สามารถขยายกิจการโดยไม่ต้องเพิ่มการลงทุนเอง

7.1.1.2. ได้รับรายได้จากกาไรตามยอดขายที่ผู้รับสิทธิทาได้

7.1.2. ผลประโยชน์ของผู้รับสิทธิ

7.1.2.1. ได้รับเครดิตในการสต๊อกสินค้า

7.1.2.2. เป็นสมาชิกภายใต้ระบบการค้าปลีกขนาดใหญ่

7.2. จริยธรรมทางธุรกิจในฐานะแฟรนไชส์ซอร์และฐานะแฟรนไชส์ซี

7.2.1. ข้อดีของธุรกิจแฟรนไชส์

7.2.1.1. ชื่อตรา ยี่ห้อ และชื่อเสียงเป็นที่รู้จักมาก่อน

7.2.1.2. การควบคุมคุณภาพเพื่อให้ได้สินค้าหรือบริการที่มีมาตรฐาน ( มีคู่มือการปฏิบัติงาน )

7.2.2. ข้อเสียของธุรกิจแฟรนไชส์

7.2.2.1. ผู้ให้สิทธิอาจขาดการติดตามในเรื่องการฝึกอบรม

7.2.2.2. บางเงื่อนไขในการขอรับสิทธิหรือซื้อสิทธิ อาจจะไม่ยุติธรรมต่อผู้รับสิทธิ

7.3. แนวโน้มและบทบาทธุรกิจแฟรนไชส์

7.3.1. การทำแฟรนไชส์นับว่าเริ่มมีอิทธิพลต่อการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจโดยรวมมากขึ้นเรื่อยๆ