1. ความเป็นมา
1.1. เรียกอีกชือหนึ่งว่า "เพลงยาวอิศรญาณ"
1.2. แต่งเพื่อสะท้อนความคิิดของสังคมในยุคนั้น
1.3. เสนอแนะแนวทางการปฏิบัติตนแต่ไม่ถึงขั้นสอน
2. บทวิเคราะห์คุณค่า
2.1. ด้านเนื้อหา
2.1.1. เป็นวรรณกรรมคำสอน
2.1.2. มุ่งสอนคนทุกเพศ ทุกวัย
2.2. ด้านวรรณศิลป์
2.2.1. การใช้โวหารอุปมา (เปรียบเทียบ)
2.2.1.1. "อย่าดููถูกบุญกรรมว่าทำน้อย น้ำตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา"
2.2.2. การเล่นเสียงสัมผัส
2.2.2.1. สัมผัสสระ
2.2.2.1.1. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
2.2.2.2. สัมผัสอักษร
2.2.2.2.1. รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ
2.2.3. การใช้สำนวน สุภาษิต
2.2.3.1. เดินตามผู้ใหญ่หมาไม่กัด
2.2.3.2. ยื่นแก้วให้วานร
2.2.3.3. น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
2.3. คุณค่าด้านสังคม
2.3.1. ให้ความสำคัญแก่ผู้อาวุโส
2.3.1.1. "คนสามขามีปัญญาหาไว้ทัก"
2.3.2. สอนให้สำรวจจิตใจตนเอง
2.3.2.1. "อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน"
2.3.3. สอนให้รู้จักประมาณตน
2.3.3.1. "สูงอย่าสูงกว่าฐานนานไปล้ม"
2.4. ข้อคิด
2.4.1. การปรับตัวให้เข้ากับสังคม
2.4.1.1. "ใครทำตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา"
2.4.2. การมีสติ
2.4.2.1. "อันเสาหินแปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักบ่อยเข้าเสายังไหว"
2.4.3. การรู้จักใช้จ่าย
2.4.3.1. "หาเงินติดไถ้ไว้อย่าให้ขาด ตำลึงบาทหาไม่คล่องเพียงสองสลึง"
2.4.4. การคบมิตร
2.4.4.1. "อย่าคบมิตรจิตพาลสันดานชั่ว"