บทที่ 3 การทบทวนวรรณกรรม (Literature review)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 3 การทบทวนวรรณกรรม (Literature review) by Mind Map: บทที่ 3  การทบทวนวรรณกรรม (Literature review)

1. 9.ผู้แต่งเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในงานที่เขียนเป็นอย่างดีหรือไม่

2. 10. หนังสืออ้างอิงอื่นๆ

3. ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ: แต่ละงานวิจัยให้ผลสรุปอย่างไร ผลการวิจัย สอดคล้อง หรือขัดแย้งกับผลงานของผู้ใดบ้าง งานวิจัยมีจุดแข็ง ข้อจำกัดอะไรบ้างและข้อ แก้ไขเพื่อให้งานวิจัยมีคุณภาพที่ดีกว่า

4. ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม

4.1. ขั้นตอนที่ 1 : การค้นหาวรรณกรรม

4.1.1. หลักในการค้นหาวรรณกรรม

4.1.1.1. 1. เอกสารและงานวิจัยนั้นๆ มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยของเราอย่างไร และมากน้อยเพียงใด

4.1.1.2. 2.ปริญญานิพนธ์นำเสนอเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องได้มากกว่าในรายงานการวิจัย

4.1.1.3. 3. ควรมีเหตุผลในการนำเสนอเอกสารฯ แต่ละเรื่อง

4.1.1.4. 4. ถ้าหากผลของการวิจัยมีความขัดแย้งกัน ต้องนำเสนอเอกสารและงานวิจัยฯ ที่มีข้อค้นพบที่สนับสนุนแต่ละฝ่าย

4.1.1.5. 5. ถ้ามีงานวิจัยหลายๆ เรื่องที่มีผลการค้นพบเหมือนกัน อาจเลือกนำเสนอเพียงเรื่องเดียว

4.1.1.5.1. 8. วิทยานิพนธ์ (ปริญญาโท , ปริญญาเอก)

4.1.1.6. 7. มีเนื้อหาตรงกับที่ผู้วิจัยต้องการ

4.1.1.7. 6. จำเป็นต้องเสนองานวิจัยที่เกี่ยวข้องฉบับที่ทันสมัย

4.1.1.8. 8. ใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย สมเหตุสมผล ไม่ลำเอียง

4.1.1.9. 10. หนังสือหรือเอกสารที่ศึกษาต้องให้ความรู้ที่ถูกต้องเชื่อถือได้

4.1.1.10. 11. ควรเลือกหนังสือหรือเอกสารที่พิมพ์จากสำนักพิมพ์ที่เชื่อถือได้

4.1.2. แหล่งข้อมูลเพื่อการทบทวนวรรณกรรม

4.1.2.1. 1. หนังสือ

4.1.2.2. 2. ดรรชนีวารสาร (Index)

4.1.2.3. 3. พจนานุกรม (Dictionary)

4.1.2.4. 4. สารานุกรม (Encyclopedia)

4.1.2.5. 6. หนังสือรายปี

4.1.2.6. 7. วารสาร (Journal)

4.1.2.7. 5. บทคัดย่อ (Abstracts)

4.1.2.8. 9. รายงานการวิจัย

4.1.3. ที่มาของแหล่งข้อมูล

4.1.3.1. 1. ข้อมูลที่เป็นเอกสาร เช่น ห้องสมุด ร้านหนังสือ และอื่นๆ

4.1.3.2. 2. ข้อมูลอิเลกทรอนิกส์ เช่น CD, DVD, ข้อมูลจาก computerเป็นฐานข้อมูลที่จัดเก็บข้อมูลทางวิชาการ

4.1.3.3. 3. ข้อมูล Online

4.1.3.3.1. ข้อมูล Online Database

4.1.4. ระดับความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล

4.1.4.1. 1. ความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มา จะต้องสามารถสืบค้นได้ถึงเจ้าของผลงานเดิม

4.1.4.2. 2. ความน่าเชื่อถือของประเภทวรรณกรรมปฐมภูมิมากกว่าทุติยภูมิ

4.1.4.3. 4. ความน่าเชื่อถือในสำนักพิมพ์

4.1.4.4. 3. ความน่าเชื่อถือของเจ้าของวรรณกรรม คุณวุฒิ ความถนัด ความชำนาญของเจ้าของวรรณกรรม

4.1.4.5. 5. ความทันสมัยของวรรณกรรม

4.2. ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มประชากร และการได้มาของตัวอย่าง ตัวอย่างมีขนาดเพียงพอหรือไม่ ทราบรูปแบบการวิจัย (สร้าง) เครื่องมือวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไรและสถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล

4.3. ขั้นตอนที่ 2 : สรุปย่อข้อมูลวรรณกรรม

4.3.1. การอ่านและวิเคราะห์งานวิจัย

4.3.1.1. หลักการ แนวคิด หรือทฤษฏีที่ใช้ในการวิจัย วัตถุประสงค์คืออะไร ตั้งสมมุติฐานอย่างไร ใช้แนวคิด ความรู้พื้นฐาน หรือใช้ทฤษฎีอะไร และมีตัวแปรอะไรที่ใช้ในงานวิจัยตลอด จนการนิยามตัวแปรเชิงปฏิบัติการ

4.3.2. วิธีการบันทึกเนื้อหาที่สำคัญ

4.3.2.1. การบันทึกโดยใช้บัตรบันทึก

4.3.2.1.1. สิ่งสำคัญที่จะต้องมีในบัตรบันทึก มีดังนี้

4.3.2.2. การบันทึกโดยใช้ตาราง

4.4. ขั้นตอนที่ 3 : เรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

4.4.1. หลักเรียบเรียงข้อมูลวรรณกรรม

4.4.2. วิธีการเขียนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

4.4.2.1. 1. เลือกเฉพาะข้อมูลเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจริง ๆ กับปัญหาที่ศึกษาเท่านั้น

4.4.2.1.1. ครอบคลุม ทันสมัย (เนื้อหา และ เวลา)

4.4.2.1.2. วิเคราะห์ กลั่นกรอง ผสมผสาน ประมวล และสรุปเรียบเรียงด้วยสำนวนของผู้เขียนเองด้วยความเข้าใจ

4.4.2.2. 2. เน้นการอ้างอิงจากแหล่งปฐมภูมิเท่านั้น

4.4.2.2.1. อ้างอิงเป็นระบบ ถูกต้อง

4.4.2.3. หลังจากรวบรวมข้อมูลในขั้นตอนที่2ซึ่งเราต้องทบทวนวรรณกรรมเป็นจำนวนหลายฉบับแล้วโดยจากการสรุปวรรณกรรม จากนั้นนำข้อมูลวรรณกรรมทั้งหมดมาสรุปเรียบเรียงใหม่โดยใช้ภาษาซึ่งเป็นของผู้วิจัยเอง

4.4.2.4. 3. เน้นการเขียนเชื่อมโยงและมีความต่อเนื่องในเนื้อหา

4.4.2.4.1. เรียงลำดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง

4.4.2.4.2. การจดบันทึกลงบัตรขนาด ประมาณ 5 x 8 นิ้วหรือเป็นขนาด ครึ่ง ของ A4 เพื่อให้การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นระบบบัตร แต่ละบัตรควรบันทึกเฉพาะข้อความหนึ่งเป็น เรื่องๆ ไป โดยไม่ปะปนกับข้อความอื่นๆ หรืออาจใช้หลายบัตรต่อข้อความ 1 เรื่อง

4.4.2.4.3. ใช้ภาษาชัดเจนตั้งแต่ต้นจนจบ

4.4.2.5. 4. มีการเขียนสรุปในตอนท้าย

4.4.2.5.1. เชื่อมโยงกับความสำคัญและปัญหาวิจัยที่จะทำ

4.4.2.5.2. เชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎี หรือ โมเดล (ถ้ามี)

4.4.2.5.3. เชื่อมโยงกับกรอบแนวคิดการวิจัย (Conceptual Framework)

4.4.3. สิ่งที่ไม่ควรทำในการเรียบเรียงวรรณกรรม

4.4.3.1. ไม่ใช่การรวบรวมทุกสิ่งทุกอย่างที่ค้นหาได้มาเขียน

4.4.3.2. ไม่นำสิ่งที่ค้นคว้ามาได้เขียนเรียงต่อกันไป แต่เป็นการนำมาจัดระบบใหม่และควร แสดงความสัมพันธ์ของงานที่ค้นคว้ามาได้กับงานที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาด้วย

4.4.3.3. กระทำโดยสุจริตไม่คัดเลือกวรรณกรรมที่บิดเบือน และไร้คุณค่าโดยที่นักวิจัย มีความเชื่อใจอย่างสุจริตว่าเป็นวรรณกรรมที่ถูกต้อง

4.4.3.4. ไม่ควรนำเสนอโดยนำการทบทวนวรรณกรรมของผู้อื่นมาเสนอราวกับว่าตนเองเป็นผู้ทำการทบทวน

4.4.4. กรอบแนวคิดงานวิจัย

4.4.4.1. กรอบแนวคิดอาจเป็นการบรรยาย

4.4.4.2. กรอบแนวคิดอาจแผนภาพ (Diagram) ที่แสดงกรอบงานของเราที่จะทำการวิจัย

4.4.4.3. กรอบแนวคิดอาจเป็นแบบผสมผสานกัน

4.4.5. ข้อบกพร่องในการเรียบเรียงวรรณกรรม

4.4.5.1. ส่วนใหญ่เขียนแบบบรรยายไม่ได้เขียนแบบวิพากษ์วิจารณ์การทบทวนวรรณกรรม คือ “การเขียนใหม่” จากที่อ่านมาทั้งหมด

4.4.5.2. การโจรกรรมทางวิชาการ (Plagiarism)

4.4.5.2.1. รูปแบบ Plagiarism

4.4.5.2.2. เทคนิคการหลีกเลี่ยง Plagiarism

4.4.6. เป็นการศึกษาเอกสาร ตำรา วารสาร และรายงานการวิจัย เพื่อเป็นการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี วิธีการวิจัยและปัญหาวิจัยในประเด็นปัญหาที่ผู้วิจัยจะศึกษา

5. วัตถุประสงค์ที่สำคัญสำหรับงานวิจัย คือ การค้นพบความรู้ใหม่ ทฤษฎีใหม่ แต่ถ้าหากผลการวิจัยที่ทำไว้แล้วนั้นมีปัญหา ผู้วิจัยอาจจะทำปัญหานั้นซ้ำอีกก็ได้

6. การทบทวนวรรณกรรมควรเป็นกระบวนการสำคัญของทุกขั้นตอนการวิจัยหลัก ๆ ได้แก่

6.1. ระหว่างการทำวิจัย-เพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าของงานวิจัยต่างๆ ที่ยังตรวจไม่พบตอนเสนอโครงร่าง

6.2. สรุปผลการวิจัย-เพื่อจะได้ข้อมูลสนับสนุนผลการวิจัยเพิ่มเติม

7. 3. ช่วยในการนิยามปัญหา (To Define a Problem)

7.1. เป็นการศึกษาค้นคว้าเอกสารและรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องต่างๆ เพื่อทำให้ผู้วิจัยเกิดความกระจ่างในปัญหาที่จะทำการวิจัยนั้น

8. ก่อนเริ่มทำวิจัย-เพื่อกำหนดชื่อเรื่อง ปัญหา วัตถุประสงค์ สมมติฐาน กรอบแนวคิดการวิจัยระเบียบวิธีการวิจัยและวิธีดำเนินการวิจัย

9. การทบทวนวรรณกรรมต้องเป็นการให้ความรู้เพื่อขยายหัวข้อการวิจัย ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย การพัฒนาสมมติฐานการวิจัย ตลอดจนระเบียบวิธีวิจัย และวิธีดำเนินการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบที่ต้องการ การทบทวนวรรณกรรมที่ดีควรใช้ภาษาของผู้วิจัยเองและควรแบ่งประเด็นหัวข้อต่างๆให้ชัดเจนและเชื่อมโยง เรื่องราวต่างๆ ให้เป็นเนื้อเดียวกัน

10. ความหมาย : วรรณกรรม

10.1. วรรณกรรม หมายถึง งานหนังสือ งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด โดยที่มีการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ กัน เช่น ตำรา หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียนสิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คำปราศรัย สุนทรพจน์ สิ่งบันทึกเสียง ภาพถ่าย และอื่นๆ เป็นต้น

10.2. วรรณกรรมในงานวิจัย หมายถึง เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ (1) แนวคิด/ทฤษฎี และ (2) ผลงานวิจัยที่มีเนื้อหาสัมพันธ์กับเรื่องที่ทำการการศึกษาวิจัย

11. ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม

11.1. ดร. กิติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ และคณะ, 2546

11.1.1. 1.ทำไห้ไม่ทำวิจัยซ้ำกับผู้อื่น

11.1.2. 2.ทำให้ทราบถึงอุปสรรค หรือข้อบกพร่องในการทำวิจัยเรื่องนั้นๆ

11.1.3. 3.ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการพิจารณากำหนดขอบเขต และตัวแปรการวิจัย

11.1.4. 4.ใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดกรอบแนวคิด

11.1.5. 5.ช่วยในการกำหนดสมมติฐานการวิจัย

11.1.6. 6.ช่วยกำหนดรูปแบบและวิธีการวิจัย

11.1.7. 7.ช่วยในการเชื่อมโยงสิ่งที่ค้นพบในการวิจัยครั้งนี้กับที่พบจากการวิจัยที่ผ่านมา

11.2. วัญญา วิศาลาภรณ์, 2540 : 49-50

11.2.1. 1.ช่วยให้ทราบว่ามีงานวิจัยอะไรบ้างเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยของเรากำลังศึกษา

11.2.2. 3.ทำให้ทราบแหล่งข้อมูลทางการวิจัย

11.2.3. 2.ช่วยให้ทราบว่ามีวิธีการวิจัยหรือมีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ชนิดใดที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานวิจัยได้บ้าง

11.2.4. 4.ทำให้เกิดความคิดและวิธีการใหม่ในการวิจัย

11.2.5. 5.ช่วยเป็นแนวทางในการตั้งสมมติฐานงานวิจัย

11.2.6. 6.ทราบถึงบุคคลผู้เชี่ยวชาญการวิจัยในสาขานั้นๆ

11.2.7. 7.ช่วยประเมินการวิจัย

11.2.8. 8.ใช้ในการอภิปรายผลงานวิจัย

11.2.9. 9.ช่วยให้ปัญหาการวิจัยรัดกุมและชัดเจน

12. ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม

12.1. 1. หาความจริง (To Locate Facts)

12.1.1. เพื่อหาความจริงที่ผ่านการพิสูจน์มาแล้ว

12.2. 4. เพื่อหลีกเลี่ยงการทำวิจัยซ้ำซ้อน (To Avoid Duplication)

12.3. 5. เพื่อหาเทคนิคในการวิจัย (To Find Techniques)

12.3.1. เช่น เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง เทคนิคการสร้างเครื่องมือ เทคนิคการใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยต้องศึกษาอย่างละเอียดก่อนนำมาใช้ในงานวิจัยของตน

12.4. 6. ช่วยในการแปลความหมายของข้อมูล (To Interpret Results)

12.4.1. ในการแปลความหมายของข้อมูลนั้นถ้าผู้วิจัยรู้ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง อื่นๆมาสนับสนุนด้วยก็จะเป็นการดี

12.5. 7. เพื่อเตรียมการเขียนรายงาน (To Prepare Report)

12.5.1. ผู้วิจัยจำเป็นต้องศึกษารายงานที่ผู้อื่นทำมาแล้วเพื่อนำมาพัฒนาการเขียนรายงานการวิจัยให้ดียิ่งขึ้น

12.5.2. กรอบแนวคิดอาจเป็นแบบจำลอง หรือสมการระบุความสัมพันธ์

13. สรุป

14. ความหมาย : การทบทวนวรรณกรรม

14.1. การทบทวนวรรณกรรม หมายถึง การค้นคว้า ศึกษา รวบรวม และประมวลผลงานทางวิชาการ เช่น ผลงานวิจัย บทความ เอกสารทางวิชาการ และตำราที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหรือประเด็นที่ทำการวิจัย เพื่อประเมินแนวความคิด ระเบียบวิธีการวิจัย สมมุติฐาน ข้อสรุป

14.2. 2. เพื่อให้เลือกสรรปัญหาได้ถูกต้อง (To Select a Problem)

14.2.1. จะทำให้ได้แนวความคิดในการจำแนกลักษณะของปัญหาและสามารถเลือกปัญหาได้ตรงจุดมากยิ่งขึ้น