การเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น by Mind Map: การเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่น

1. ประเภทของสารสนเทศท้องถิ่น

1.1. 1. หนังสือ

1.2. 2. วารสารและหนังสือพิมพ์

1.3. 3. จุลสาร

1.4. 4. กฤตภาค

1.5. 4. กฤตภาค

1.6. 6. โสตทัศนวัสดุที่มีเน้ือหาเกี่ยวกบั ทอ้งถิ่น

1.7. 7. วสัดุย่อส่วนที่มีรายละเอียดเกี่ยวกบั ทอ้งถิ่น

1.8. 8. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับ ทอ้งถิ่น

2. วิธีการและขั้นตอนในการเก็บรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่น

2.1. 1. การกำหนดขอบข่ายหรือประเภทและแหล่งข้อมูลของท้องถิ่นที่ต้องการ

2.1.1. โดยพิจารณาถึง ขอ้มูลหลกัที่ชุมชนหรือทอ้งถิ่นตอ้งการใชป้ ระโยชน์ในดา้นต่าง ๆ

2.2. 2. แหล่งข้อมูลหรือสารสนเทศท้องถิ่น

2.2.1. 2.1 แหล่งข้อมูลหรือสารสนเทศบุคคล

2.2.2. 2.2 แหล่งข้อมูลหรือสารสนเทศสถาบัน

2.2.3. 2.3 แหล่งข้อมูลหรือสารสนเทศสื่อมวลชน

2.2.4. 2.4 การสังเกต

2.2.5. 2.5การสัมภาษณ์

3. วัตถุประสงค์และความจำเป็นในการเก็บรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่น

3.1. 1. เพื่อรองรับการศึกษาเกี่ยวกับท้องถิ่นในเชิงบูรณาการ

3.2. 2. เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลหรืออุดมการณ์

3.3. 3. เพื่อกระตุ้นให้สถาบันบริการสารสนเทศและมหาวิทยาลัยมีบทบาทในการบริการ วชิาการแก่ชุมชนหรือท้องถิ่น

3.4. 4. เพื่อเป็นการสร้างเอกลักษณ์ด้านข้อมูลสารสนเทศให้แก่มหาวิทยาลัย

3.5. 5. เพอื่ ให้ห้องสมุดหรือสถาบันบริการสารสนเทศมีบทบาทส าคัญในเครือข่ายสารสนเทศ การเป็นแหล่งสารสนเทศเฉพาะดา้นใหแ้ก่มหาวิทยาลยั องค์กร หน่วยงาน หรือผู้ใช้อื่น ๆ

4. ขอบเขตของสารสนเทศท้องถิ่น

4.1. 1. เป็นสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกบั ประวตัิศาสตร์ทอ้ งถิ่น และเรื่องราวโดยทวั่ ไปของ ทอ้งถิ่น

4.2. 2. เป็นผลงานที่มุ่งเนน้ขอ้มูลภูมิหลงัเกี่ยวกบัความเป็นทอ้งถิ่น

4.3. 3. เป็นเรื่องราวที่มีความส าคญั ต่อผอู้่าน เช่น แผนที่ เอกสารเกี่ยวกบั สภาพทอ้งถิ่น เป็น ต้น