ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล by Mind Map: ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล

1. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. ประเภท

1.1.1. ตามขนาด

1.1.1.1. 1.ท้องถิ่น LAN

1.1.1.1.1. เครือข่ายขนาดเล็ก มีระยะใกล้ สัญญาณไม่กว้าง

1.1.1.2. 2.เมือง MAN

1.1.1.2.1. เครือข่ายขนาดกลาง อยู่ในเขตเมืองหรือจังหวัดที่ใกล้เคียงกัน

1.1.1.3. 3.ประเทศ WAN

1.1.1.3.1. เครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้สื่อกลางหลายชนิด รวมคลื่นวิทยุและไมโครเวฟ

1.1.1.4. 4.ส่วนบุคคล PAN

1.1.1.4.1. หรือบลูทูธ เป็นเครือข่ายส่วนบุคคล ระยะทางไม่เกิน 1 เมตร

1.1.2. ตามการให้และรับบริการ

1.1.2.1. 1.Peer to Peer

1.1.2.1.1. ทุกเครื่องมีสถานะเท่าเทียมกันหมด

1.1.2.2. 2.Client/Server

1.1.2.2.1. ต้องได้รับอนุญาตในการเข้าถึงข้อมูล

1.2. โครงสร้างเครือข่าย

1.2.1. BUS

1.2.1.1. ลักษณะการเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทำให้โครงสร้างแบบนี้มีจุดอ่อนก็คือเมื่อคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหากับสายเคเบิล ก็จะทำให้เครื่องรวนไปทั้งระบบ มีความเร็วก็เพียง 10 Mbps

1.2.2. RING

1.2.2.1. ลักษณะการเชื่อมต่อจะเป็นลักษณะวงแหวน การส่งข้อมูลจะเป็นแบบทิศทางเดียว ซึ่งถ้าส่งไปแล้วไม่ตรงกับคอมพิวเตอร์เครื่องรับตามที่เครื่องต้นทางระบุมา ก็จะส่งไปยังเครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงปลายทางคือตรงกับเครื่องใครก็จะรับ ไม่ส่งต่อ จุดอ่อนของระบบก็คล้ายๆแบบบัส ปัจจุบันยังใช้อยู่ในธนาคาร พวก Mainfram IBM AS/400

1.2.3. STAR

1.2.3.1. ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจายคือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์เป็นศูนย์กลางถ้าหากเราเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายก็สามารถทำได้ทันที การต่อแบบนี้เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน

1.2.4. MESH

1.2.4.1. โครงสร้างเครือข่ายแบบตาข่าย (Mesh Topology) มีลักษณะคล้ายกับโครงสร้างเครือข่ายแบบดาว(star topology)ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อแบบซับซ้อนหลายเส้นทาง ระบบเครือข่ายสามารถเป็นได้ทั้งโครงสร้างตาข่าย แบบสมบูรณ์ (fully mesh) และโครงสร้างตาข่ายแบบบางส่วน (partially mesh)

1.2.4.1.1. โครงสร้างตาข่ายแบบสมบูรณ์ (Full-Mesh Topology)

1.2.4.1.2. โครงสร้างตาข่ายแบบบางส่วน (Partial-Mesh Topology)

1.2.5. HYBRID

1.2.5.1. ลักษณะของของโครงสร้างแบบนี้ก็คือการนำเครือข่ายๆ ย่อยๆ มารวมกันหรือ เชื่อมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะแบบนี้ยังมีชื่อเรียกเฉพาะอีกด้วย เช่น โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree หรือ Hierachical หรือ Mesh) ก็คือเครือข่ายผสมที่เกิดจากการนำเอาเครือข่ายที่มีโครงสร้างแบบบัสและแบบสตาร์มาผสมกัน

2. การสื่อสารข้อมูล

2.1. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล

2.1.1. Data/Message

2.1.2. Sender

2.1.3. Receiver

2.1.4. Transmission Media

2.1.5. Protocol

2.1.5.1. HyperText Tranfer Protocol: HTTP

2.1.5.2. Tranmission Control Protocol/Internet Protocol

2.1.5.3. Simple Mail Transfer Protocol

2.1.5.4. Post Office Protocol 2: POP3

2.1.5.5. Internet Message Access Protocol: IMAP

2.2. ชนิดของสัญญาณ

2.2.1. การแปลงข้อมูลให้เป็นสัญญาณ

2.2.1.1. อนาล็อกเป็นอนาล็อก

2.2.1.1.1. ampitude modulation

2.2.1.1.2. Phase modulation

2.2.1.1.3. frequency modulation

2.2.1.2. ดิจิตอลเป็นดิจิตอล

2.2.1.2.1. NRZ-L

2.2.1.2.2. NRZ-I

2.2.1.2.3. Manchester

2.2.1.2.4. differential

2.2.2. อนาล็อก

2.2.2.1. มีขนาดแอมพลิจูดที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาและเป็นค่าต่อเนื่อง เช่น เสียงพูด เสียงดนตรี

2.2.3. ดิจิตอล

2.2.3.1. เป็นสัญญาณที่ไม่มีความต่อเนื่องที่เรียกว่า ดีสครีต(discrete) สัญญาณดิจิทัลถูกแทนด้วยระดับแรงดันไฟฟ้าสองระดับเท่านั้น โดยแสดงลักษณะเป็น "0" และ "1" ซึ่งตรงกับเลขฐานสอง

2.3. ลักษณะการเชื่อมต่อสื่อสารข้อมูล

2.3.1. การเชื่อมโยงแบบจุดต่อจุด

2.3.1.1. เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องเทอร์มินอล หรือคอมพิวเตอร์ 2เครื่อง ผ่านสายสื่อสารเพียงสายเดียวและความยาวสายไม่จำกัด สายสื่อสารจะถูกจองการส่งข้อมูลอยู่ตลอดเวลา เหมาะกับงานที่ส่งรับข้อมูลมากๆ

2.3.2. การเชื่อมโยงแบบหลายจุด

2.3.2.1. การเชื่อมต่อแบบหลายจุดแต่ละจุดจะมีบัฟเฟอร์ เก็บข้อมุ,ชั่วคราวก่อนทำการส่ง บัฟเฟอร์จะรับข้อมูลมาเก็บเรื่อยๆจนเต็ม ช้อมูลจะถูกส่งทันทีหรือเมื่อมีคำสั่งให้ส่ง ช่วงใดที่ว่างก็สามารถให้ผู้อื่นส่งได้ เหมาะกับการสื่อสารขนาดไม่ใหญ่มาก และเป็นข้อมูลไม่ต่อเนื่อง

2.3.3. การเชื่อมโยงแบบเครือข่ายสวิตซ์ชิ่ง

2.3.3.1. การเชื่อมต่อด้องเป็นแบบจุดต่อจุด

2.3.3.2. ต้องมีการเชื่อมต่อการสื่อสารกันทั้งฝ่ายรับและส่งก่อนจะเริ่มรับหรือส่งข้อมูล

2.3.3.3. หลังสื่อสารกันเสร็จเรียบร้อย จะต้องตัดการเชื่อมต่อ เพื่อให้ผู้อื่นใช้สายสื่อสารไดด้ต่อไป

3. สื่อกลางนำข้อมูล

3.1. แบบสาย

3.1.1. สายคู่บิดเกลียว RJ45

3.1.1.1. สายแบบมีฉนวนหุ่ม STP

3.1.1.2. สายแบบไม่มีฉนวนหุ่ม UTP

3.2. แบบไร้สาย

3.2.1. ใยแก้วนำแสง

3.2.2. คลื่นวิทยุ

3.2.3. คลื่นไมโครเวฟ

3.2.4. คลื่นอินฟาเรด

3.3. อุปกรณ์

3.3.1. โมเด็ม

3.3.1.1. โมเด็ม มาจากคำว่า (modulate/demodulate) ผสมกัน คือ กระบวนการแปลงข้อมูลข่าวสารดิจิตอลให้อยู่ในรูปของอนาล็อกแล้วจึงแปลงสัญญาณกลับเป็นดิจิตอลเมื่อโมเด็มของคุณต่อเข้ากับโมเด็มตัวอื่นความแตกต่างของโมเด็มแต่ละประเภท