Basic research and Data collection

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Basic research and Data collection by Mind Map: Basic research and Data collection

1. สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงคุณภาพ

1.1. ใช้ได้กับข้อมูลประเภทที่มีระดับการวัดแบบช่วงและที่มีการวัดแบบอัตราส่วน

1.2. สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงปริมาณ เช่น ขนาดตัวอย่าง ค่าการแปรผัน พิสัย

1.3. สถิติพรรณนาที่ควรนำมาใช้กับตัวแปรเชิงปริมาณ เพื่อมาตรฐานในการรายงานผลการวิจัยมี4ตัว คือ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

2. สถิติพรรณนาสำหรับตัวแปรเชิงปริมาณ

2.1. ส่วนใหญ่ใช้กับข้อมูลที่เก็บจากแบบสอบถาม

2.2. ต้องมีการลงรหัสข้อมูลให้เป็นตัวเลข

2.3. ค่าสถิติเชิงพรรณนาที่สำคัญจากการวิเคราะห์สถิติ ความถี่ อัตราส่วนร้องปกติอัตราส่วนที่ถูกต้อง

3. สถิติพรรณนากับการวิจัย

3.1. ช่วยสรุปคุณสมบัติของสิ่งศึกษา

3.2. ช่วยสรุปตัวเลขหรือหน่วยจำให้เห็นเป็นรูปธรรม

3.3. เหมาะสำหรับการรายงานวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ

3.4. ช่วยในการตัดสินใจเบื้องต้นว่าการวิจัยได้เก็บข้อมูล

3.5. จากกลุ่ม\หน่วยวิเคราะห์ที่เหมาะสมหรือไม่ ทั้งในด้านจำนวนและในด้านคุณสมบัติ

4. ประเภทของตัวแปรที่ใช้ในสถิติ

4.1. ตัวแปรอิสระ

4.1.1. คือตัวแปรที่กำหนดขึ้นเพื่อทดสอบสมมุติฐานเป็นตัวแปรที่เราเปลี่ยนไปเพื่อจะดูผลที่ตามมา

4.2. ตัวแปรตาม

4.2.1. ตัวแปรที่เปลี่ยนไปตามตัวแปรต้นหือผลของตัวแปรต้น

4.3. ตัวแปรควบคุม

4.3.1. ตัวแปรที่ส่งผลต่อการทดลอง อาจทำให้การทดลองคลาดเคลื่อน จึงต้องควบคุมไว้

5. หลักการเบื้องต้นที่สำคัญของการใช้สถิติ

5.1. 1.หลีกเลี่ยงการเสนอซ้ำซาก

5.2. 2.เสนอในรูปแบบมาตรฐานของแต่ละวิธีการหรือที่วงวิชาการยอมรับ

5.3. 3.แปลผลค่าสถิติต่างๆได้ถูกต้อง

5.4. 4.ตีความหมาย

6. สถิติ. {statistics}

6.1. สถิติมาจากภาษาเยอรมัน หมันถึง ข้อมูลหรือสารสนเทศ

6.2. สถิติ หมายถึง ตัวเลขหรือข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม เช่นจำนวนผูประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน อัตราการเกิดของเด็กทารก

7. วัตถุประสงค์โดยทั่วไปของการใช้สถิติเพื่อการวิจับ

7.1. 1.พรรณนาคุณสมบัติของหน่วยศึกษา\วิเคราะห์

7.2. 2.ศึกษาความแตกต่างระหว่างกลุ่มต่างๆที่เป็นเป้าหมายของการศึกษา

7.3. 3.ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

7.4. 4.ศึกษาการประมาณค่าหรือการพยากรณ์

8. 2 Statistics Data ข้อมูลทางสถิติ

9. บอกถึงความแตกต่างระหว่างค่าที่วัดได้แต่ละช่วง ที่มีความห่างเท่ากัน เป็นข้อมูลที่เป็นตัวเลข สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้ แต่ไม่มีศูนย์แท้

10. คำศัพท์

10.1. 1 Statistics สถิติ

10.2. 3 Nominal Scale นามบัญญัติ

10.3. 4 Ordinal Scale เรียงลำดับ

10.4. 5 Interval Scale อันตรภาค

10.5. 6 Ratio Scale อัตราส่วน

10.6. 7 Variance ค่าการแปรผัน

10.7. 8 Range พิสัย

10.8. 9 Median ค่ามัธยฐาน

10.9. 10 Minimum ค่าต่ำสุด

11. ประเภทของสถิติ

11.1. Descriptive Statistics

11.1.1. สถิติเชิงพรรณนา

11.1.1.1. การใช้สถิติเพื่ออธิบายข้อมูลที่มีอยู่

11.1.1.2. ไม่ได้นำไปพยากรณ์ประชากร แต่อย่างใด

11.1.1.3. ลักษณะที่จะพรรณนาข้อมูลนั้น มีอยู่สองลักษณะ คือ ใช้ตัวอักษรหรือตัวเลข และ การใช้แผนภาพ

11.2. Inferential Statistics

11.2.1. สถิติพารามิเตอร์ (Parametric Statistics )

11.2.1.1. ว่าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมาจากกลุ่มตัวอย่างเพื่ออธิบาย สรุปลักษณะบางประการของประชากรโดยการนำทฤษฎี ความน่าจะเป็นมาประยุกต์ใช้ เช่นการประมาณค่า

11.2.1.2. ข้อมูลระดับช่วงขึ้นไป

11.2.1.3. มีการแจกแจงเป็นโค้งปกติ

11.2.1.4. ประชากรแต่ละกลุ่มที่นำมาศึกษาจะต้องมีความแปรปรวนเท่ากัน

11.2.1.5. การเขียนแสดงค่าใช้อักษรกรีกเป็นสัญลักษณ์

11.2.2. สถิติไร้พารามิเตอร์ (Nonparametric Statistics)

11.2.2.1. เป็นวิธีการทางสถิติที่สามารถนำมาใช้ได้โดยปราศจากข้อตกลงเบื้องต้น3ประการข้างต้น

12. ประเภทของข้อมูล

12.1. 1. นามบัญญัติ (Nominal Scale)

12.1.1. เป็นระดับการวัดที่หยาบที่สุด จัดข้อมูลหรือตัวแปรออกเป็นกลุ่ม เช่น เพศ อาชีพ

12.1.2. ใช้สถิติง่ายๆในการคำนวณ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ไม่สามารถนำไป บวก ลบ คูณ หาร กันได้ในทางสถิติ เพราะไม่มีความหมาย

12.2. 2.เรียงลำดับ (Ordinal Scale)

12.2.1. ใช้จัดลำดับสิ่งของต่างๆโดยเรียงลำดับของข้อมูลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งใว้จากสูงสุดไปต่ำสุด เช่น ลำดับของการสอบ ลำดับการประกวดสิ่งต่างๆ

12.2.2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ

12.3. 3.อันตรภาค (Interval Scale)

12.3.1. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ ความถี่ สัดส่วน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติชั้นสูงทุกตัว

12.4. 4.อัตราส่วน(Ratio Scale)

12.4.1. เป็นข้อมูลที่ใช่วัดระดับความสูง สามารถ บวก ลบ คูณ หารได้ เช่าน น้ำหนัก ความเร็ว ความหนา ความกว้าง อายุ

12.4.2. สามารถนำไปวิเคราะห์กับสถิติได้ทุกตัว