สารชีวโมเลกุล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สารชีวโมเลกุล by Mind Map: สารชีวโมเลกุล

1. ขนส่งสารไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย

2. โปรตีน

2.1. กรดอะมิโนและพันธะเพปไทด์

2.1.1. กรดอะมิโน

2.1.1.1. มี20ชนิด

2.1.1.2. ต่อกันเป็นสายยาวได้โปรตีน

2.1.1.3. ร่างกายสร้างเองไม่ได้

2.1.1.3.1. ไอโซลิวซีน

2.1.1.3.2. ลิวซีน

2.1.1.3.3. ไลซีน

2.1.1.3.4. ทรีโอนีน

2.1.1.3.5. เมไทโอนีน

2.1.1.3.6. เฟนิลอะลานีน

2.1.1.3.7. ทริปโตเฟน

2.1.1.3.8. วาลีน

2.1.1.3.9. ฮีสติดีน

2.1.1.3.10. อาร์จีนีน

2.1.1.4. แข็ง ใส ไม่มีสี ละลายน้ำ

2.1.1.5. จุดเดือด150-300•c

2.1.2. เพปไทด์

2.1.2.1. (เขียนรูปแบบปฏิกิริยาทั่วไปหน้า262)

2.2. ชนิดและหน้าที่

2.2.1. แบ่งตามโครงสร้าง3มิติ

2.2.1.1. โปรตีนก้อนกลม

2.2.1.1.1. ละลายน้ำได้ดี

2.2.1.1.2. พบใน

2.2.1.1.3. เกี่ยวข้องกับกระบวนการเมทาบอลิซึม

2.2.1.2. โปรตีนเส้นใย

2.2.1.2.1. ละลายน้ำได้น้อยกว่าก้อนกลม

2.2.1.2.2. พบใน

2.2.1.2.3. ทำหน้าที่เป็นโครงสร้าง

2.2.2. แบ่งตามหน้าที่

2.2.2.1. เร่งปฏิกิริยา

2.2.2.1.1. เร่งปฏิกิริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต

2.2.2.2. โครงสร้าง

2.2.2.2.1. ให้ค.แข็งแรง คงรูปร่าง

2.2.2.3. ขนส่ง

2.2.2.4. สะสม

2.2.2.4.1. สะสมแร่ธาตุในร่างกาย

2.2.2.5. ป้องกัน

2.2.2.5.1. ป้องกัน/กำจัดสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย

2.2.2.5.2. ค.สามารถในการดูดแสง

2.2.2.6. ฮอร์โมน

2.2.2.6.1. ตามค.สำคัญของฮอร์โมน

2.3. การทำงานของเอนไซม์

2.3.1. Enzyme+Substrate——>Enzyme-Sunstrate Complex—->Enzyme+Product

2.4. การแปลงสภาพของโปรตีน

2.4.1. สาเหตุ

2.4.1.1. ความร้อน

2.4.1.2. กรด-เบส

2.4.1.3. แอลกอฮอล์

2.4.1.4. โลหะหนัก

2.4.1.5. การฉายรังสี

2.4.2. ผล

2.4.2.1. สมบัติทางชีวภาพเปลี่ยนไป

2.4.2.1.1. ค.สามารถในการละลาย

2.4.2.1.2. การตกตะกอน

2.4.2.2. สมบัติทางเคมียังอยู่

3. คาร์โบไฮเดรต

3.1. คาร์โบไฮเดรตที่มีรสหวาน

3.1.1. โมเลกุลขนาดเล็ก

3.1.1.1. โมโนแซกคาไรด์

3.1.1.1.1. น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว

3.1.1.2. ไดแซกคาไรด์

3.1.1.2.1. น้ำตาลโมเลกุลคู่

3.1.2. สมบัติ

3.1.2.1. ผลึกของแข็ง

3.1.2.2. ละลายน้ำได้ดี

3.1.2.3. รสหวาน

3.1.2.4. ทำปฏิกิริยากับเบเนดิกต์เกิดตะกอนอิฐสีแดง

3.2. คาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีรสหวาน

3.2.1. โมเลกุลขนาดใหญ่

3.2.1.1. แป้ง

3.2.1.2. ไกลโคเจน

3.2.1.3. เซลลูโลส

3.2.2. สมบัติ

3.2.2.1. ของแข็ง

3.2.2.2. ไม่ละลายน้ำ

3.2.2.3. ไม่มีรสหวาน

3.2.2.4. ไม่เกิดปฏิกิริยากับเบเนดิกต์

4. กรดนิวคลีอิก

4.1. โครงสร้าง

4.1.1. เบสไนโตรเจน

4.1.2. น้ำตาลเพนโทส

4.1.3. หมู่ฟอสเฟต

4.2. ประเภท

4.2.1. DNA

4.2.1.1. ยาวกว่าRNA

4.2.1.2. สายคู่ พันเป็นเกลียว

4.2.1.3. น้ำตาลดีออกซีไรโบส

4.2.2. RNA

4.2.2.1. สายเดียว โซ่ยาว ไม่มีกิ่ง

4.2.2.2. สั้นกว่าDNA

4.2.2.3. น้ำตาลไรโบส

5. ลิพิด

5.1. ไขมันและน้ำมัน

5.1.1. ไขมัน

5.1.1.1. ของแข็ง

5.1.1.2. อิ่มตัวมากกว่าไม่อิ่มตัว

5.1.1.3. มักพบในสัตว์

5.1.1.3.1. ไขวัว

5.1.1.3.2. ไขหมู

5.1.1.3.3. ไขวาฬ

5.1.1.4. ไม่ละลายน้ำ

5.1.1.5. จุดเดือดสูงกว่าน้ำมัน

5.1.2. น้ำมัน

5.1.2.1. ของเหลว

5.1.2.2. ไม่อิ่มตัวมากกว่าอิ่มตัว

5.1.2.3. มักพบในพืช

5.1.2.3.1. น้ำมันถั่วเหลือง

5.1.2.4. ไม่ละลายน้ำ

5.1.2.5. จุดเดือดต่ำกว่าน้ำมัน

5.2. ฟอสโฟลิพิด

5.2.1. มีหมู่ฟอสเฟตเป็นองค์ประกอบ

5.2.2. พบทั้งในพืชและสัตว์

5.2.3. มีโมเลกุลขนาดใหญ่

5.2.4. โครงสร้าง2ชั้นเชื่อมต่อเป็นวง

5.3. ไข

5.3.1. เป็นของแข็ง

5.3.2. จุดหลอมเหลวต่ำ

5.3.3. ไม่ละลายน้ำ

5.4. สเตอรอยด์

5.4.1. ไม่ละลายน้ำ

5.4.2. ละลายในไขมันหรือตัวทำละลายอินทรีย์

5.4.3. มีหลายชนิด

5.4.3.1. คอเลสเตอรอล

5.4.3.1.1. พบในสัตว์

5.4.3.1.2. เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สเตอรอยด์อื่น

5.4.3.1.3. มีมากไปทำให้อุดตันหลอดเลือด

5.4.3.2. ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติคอยด์

5.4.3.2.1. ควบคุม

5.4.3.3. ฮอร์โมนเพศ

5.4.3.3.1. เพศชาย

5.4.3.3.2. เพศหญิง

5.4.3.4. กรดน้ำดี

5.4.3.4.1. ผลิตที่ตับเก็บในถุงน้ำดี

5.4.3.4.2. ช่วยให้ไขมันแตกตัว

5.4.3.4.3. ช่วยละลายคอเลสเตอรอล