การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของทางเดินอาหาร/โภชนาการ/การดูดซึม สารอาหาร สารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ (...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของทางเดินอาหาร/โภชนาการ/การดูดซึม สารอาหาร สารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ (กลุ่มที่ 2) by Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีความผิดปกติของทางเดินอาหาร/โภชนาการ/การดูดซึม สารอาหาร สารน้ำและอิเลคโทรลัยต์ (กลุ่มที่ 2)

1. ความผิดปกติของทางเดินอาหาร

1.1. ปัญหาด้านพัฒนาการ

1.1.1. Cleft lip and cleft palate

1.1.1.1. ลักษณะ

1.1.1.1.1. การเชื่อมเพดานส่วนหน้า (6-8 wks.)

1.1.1.1.2. การเชื่อมเพดานส่วนหลัง (7-12 wks.)

1.1.1.2. สาเหตุ

1.1.1.2.1. พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม

1.1.1.3. อาการ

1.1.1.3.1. ปาก

1.1.1.3.2. เพดาน

1.1.1.4. การรักษา

1.1.1.4.1. -การผ่าตัด ตกแต่งปากแหว่ง (Cleiloplasty)

1.1.1.4.2. -การผ่าตัด ตกแต่งเพดานโหว่ (Palatoplasty)

1.1.2. Tracheoesophageal (T-E Fistula)

1.1.2.1. การเชื่อมต่อกันระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหาร

1.1.2.2. สาเหตุ

1.1.2.2.1. พันธุกรรม สิ่งแวดล้อม ความพิการของอวัยวะอื่น

1.1.2.3. พบบ่อย

1.1.2.3.1. หลอดอาหารส่วนบนตัน ช่วงล่างเปิดติดต่อกับหลอดลม

1.1.2.4. การรักษา

1.1.2.4.1. ผ่าตัดต่อปลายหลอดอาหารเข้าด้วยกัน

1.1.3. Diaphragmatic Hernia

1.1.3.1. ลักษณะ

1.1.3.1.1. ไส้เลื่อน กระบังลม เกิดทันทีหลังคลอด

1.1.3.1.2. เกิดจากช่อง Pleuro-Peritoneal ไม่ปิด

1.1.3.2. อาการ

1.1.3.2.1. หายใจลำบาก เขียว หน้าท้องแบน

1.1.3.3. การรักษา

1.1.3.3.1. ผ่าตัดด่วน

1.1.4. Gastroschisis

1.1.4.1. ลักษณะ

1.1.4.1.1. ไส้เลื่อนหน้าท้อง

1.1.4.1.2. สะดือจุ่น(Umbilical Hernia) เส้นผ่ากลาง 0.5-1.5 cm. มักจะปิดเมื่อ 4 ปี

1.1.4.1.3. Omphaloceal ลำไส้บางส่วนอยู่ในสะดือ

1.1.5. Imperforate anus (รูทวารหนักไม่เปิด)

1.1.5.1. ลักษณะ

1.1.5.1.1. Rectum ผิดรูป

1.1.5.1.2. พิการแต่กำเนิด ไม่มีรูทวารเปิด

1.1.5.2. สาเหตุ

1.1.5.2.1. ไม่แน่ชัด (ยา สิ่งแวดล้อม)

1.2. ปัญหาด้านการเคลื่อนไหว

1.2.1. Gastro Esophageal Reflux (GER)

1.2.1.1. ลักษณะ

1.2.1.1.1. มีการย้อนกลับของกรด/อาหารผ่านหูรูดไปสู่หลอดอาหาร

1.2.1.2. อาการ

1.2.1.2.1. อาเจียนมักไม่พุ่ง บ่อย ท้องอืดขณะดูดนม/หลังดูดนม

1.2.1.3. การรักษา

1.2.1.3.1. ให้อาหารข้นขึ้น จัดท่า ให้ยาเพิ่มความดันในหลอดอาหารส่วนล่าง ยาลดกรด การผ่าตัด

1.3. ปัญหาการอักเสบติดเชื้อ

1.3.1. Appendicitis

1.3.1.1. อาการ

1.3.1.1.1. ปวดท้อง

1.3.1.1.2. อาเจียน

1.3.1.1.3. ไข้

1.3.1.2. การวินิจฉัย

1.3.1.2.1. Localized tenderness

1.3.1.2.2. ฟังเสียง Bowel sound ลดลง

1.3.1.2.3. Rebound ที่จุด Mc Burney's point

1.3.1.2.4. เม็ดเลือดขาวขึ้น

1.3.1.2.5. ตรวจทางทวารหนักเจ็บ

1.3.1.3. การรักษา

1.3.1.3.1. Appendectomy

1.4. ปัญหาการอุดตัน

1.4.1. Pyloric Stenosis

1.4.1.1. การหนาตัวของกระเพาะอาหาร เกิดตีบแคบส่วนทางออก

1.4.1.2. อาการ

1.4.1.2.1. อาเจียน มีกลิ่นเปรี้ยว ขาดน้ำ ขาดอาหาร คลอไรด์ต่ำ

1.4.1.3. การรักษา

1.4.1.3.1. แก้ไขภาวะขาดน้ำ

1.4.1.3.2. ปรับดุลกรด ด่าง

1.4.1.3.3. Pylorotomy

1.4.2. Intussusception

1.4.2.1. ภาวะที่ลำไส้หรือทางเดินอาหารส่วนต้นเคลื่อนตัวเองเข้าไปในทางเดินอาหาร

1.4.2.2. อาการ

1.4.2.2.1. ปวดท้องทันที ปลายมือเท้างอ เกร็ง ซีด เหงื่อแตก ปวดแบบ colic ถ่ายเป็นมูกเลือด

1.4.2.3. การวินิจฉัย

1.4.2.3.1. ตรวจแบเรียมทางทวารหนัก และถ่ายภาพรังสี มีลักษณะ Colies spring appearance

1.4.2.4. การรักษา

1.4.2.4.1. แก้ไขภาวะขาดน้ำ

1.4.2.4.2. ไม่ผ่าตัด ใช้แรงไฮโดรสเตติค

1.4.2.4.3. ผ่าตัด

1.4.3. Hirschsprung Disease

1.4.3.1. ลำไส้ส่วนที่มีปมประสาทไม่มีการบีบตัว ทำให้เกิดการอุดกั้น

1.4.3.2. ถ่ายขี้เทาปกติ ท้องผูก ท้องอืด

1.5. ปัญหาการดูดซึมผิดปกติ

1.5.1. Lactose Intolerance

1.5.1.1. มีความบกพร่องการย่อย

1.5.1.2. สาเหตุ

1.5.1.2.1. พันธุกรรม

1.5.1.2.2. สิ่งเเวดล้อม

1.5.1.2.3. villi ถูกทำลายจากกระเพาะอาหาร

1.5.1.2.4. ลำไส้อักเสบจากเชื้อไวรัส

1.5.1.3. ชนิด

1.5.1.3.1. Congenital

1.5.1.3.2. Developmental

1.5.1.4. อาการ

1.5.1.4.1. ถ่ายอุจจาระบ่อย

1.5.1.4.2. อุจจาะระเป็นฟอง

1.5.1.4.3. ไม่มีไขมัน

1.5.1.4.4. ท้องอืด

1.5.1.4.5. ปวดท้องแบบเกร็ง

1.5.1.4.6. มีลมวิ่งในท้อง

1.5.1.5. การรักษา

1.5.1.5.1. โภชนบำบัด นมถั่วเหลือง

1.6. โรคตับในเด็ก

1.6.1. อาการ

1.6.1.1. ปวดท้องเฉียบพลัน

1.6.1.1.1. ภาวะทางศัลยกรรม

1.6.1.1.2. ภาวะไม่ใช่ทางศัลยกรรม Infantile colic

1.6.1.2. ปวดท้องเรื้อรัง

1.7. อุจจาระร่วง (Diarrhea)

1.7.1. ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระร่วงเป็นน้ำมากกว่า 3 ครั้ง/วัน

1.7.2. อาการ

1.7.2.1. ถ่ายมีมูกปนเลือดอย่างน้อย 1 ครั้ง

1.7.2.2. ถ่ายเป็นน้ำปริมาณมากครั้งเดียวต่อวัน

1.7.3. สาเหตุ

1.7.3.1. ติดเชื้อ

1.7.3.2. ขาดเอนไซม์และน้ำย่อยที่สำคัญ

1.7.3.3. การดูดซึมบกพร่อง

1.7.3.4. ถ่ายอุจจาระเหลว

1.7.3.5. อาการขาดน้ำ

1.7.4. การรักษา

1.7.4.1. ขาดน้ำเล็กน้อย

1.7.4.1.1. ให้ ORS 50 ml./kg ใน 4 ชม.

1.7.4.2. ขาดน้ำปานกลาง

1.7.4.2.1. ให้ ORS 100 ml ใน 4 ชม.

1.7.4.3. ขาดน้ำรุนเเรง

1.7.4.3.1. ให้ IV fluid initial fluid Resuscitation 20-30 ml /kg/hr

2. ระบบทางเดินอาหารทารก

2.1. หลอดอาหารยาว ประมาณ 10 cm.

2.2. ทารกยังไม่มีน้ำย่อยแป้งในปาก

2.3. หูรูดหลอดอาหารทำงานไม่ดี

2.4. ยังควบคุมการกลืนยังไม่ดี จนถึง 6 wks.

2.5. กระเพาะอาหารของทารก-เด็ก มีความจุน้อย

2.6. ลำไส้สั้น

2.7. ตับ ตับอ่อน ถุงน้ำดี ยังทำงานไม่สมบูรณ์

3. ผลกระทบของความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร

3.1. 1.ภาวะโภชนาการและเมตาโบลิซึม

3.1.1. การได้รับอาหารไม่เพียงพอ

3.1.2. การขาดน้ำและความไม่สมดุลของ Electrolyte

3.1.3. การสูญเสียน้ำออกนอกCell

3.1.4. ผิวหนังไม่แข็งแรง ความยืดหยุ่นไม่ดี

3.2. 2.การขับถ่าย

3.2.1. ท้องเดิน

3.2.2. ท้องผูก

3.3. 3.การเจริญเติบโตและพัฒนาการไม่สมวัย

3.4. 4.กรพักผ่อนนอนหลับไม่เพียงพอ

3.5. 5.การเรียนรู้ ขาดโอกาสในการเรียน

3.6. 6.การยอมรับตนเอง มโนทัศน์ และภาพลักษณ์เกี่ยวกับตนเอง

3.7. 7.การปรับบทบาทและการปรับตัวของเด็กถูกรบกวน