ห้องสมุดและฐานข้อมูล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ห้องสมุดและฐานข้อมูล by Mind Map: ห้องสมุดและฐานข้อมูล

1. ห้องสมุด

1.1. คือแหล่งสารนิเทศ บริการทรัพยากรสารนิเทศในรูปแบบต่างๆเช่นหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค วัสดุเทป และโทรทัศน์ ซีดีรอม วีซีดี ดีวีดี โดยมีบรรณรักษ์เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารงานต่างๆในห้องสมุด โดยจัดระบบหมวดหมู่และมีระเบียบเรียบร้อย เพื่อใช้ห้องสมุดมีความสะดวกสืบค้นได้ง่ายและตรงกับความต้องการ

1.2. ห้องสมุดในปัจจุบันทำหน้าที่รวบรวม จัดระบบ เพื่อในบริการสื่อสารสารสนเทศต่างๆ ตลอดจนเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร อีกทั้งมีเครื่องมือในการค้นหาและดำเนินการให้บริกานให้บริการสื่อต่างๆเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ห้องสมุด

1.3. วัตถุประสงค์หลักทั่วไปของห้องสมุดมีอยู่ด้วยกัน 5 ประการ ดังนี้

1.3.1. 1.เพื่อการศึกษา

1.3.2. 2.เพื่อให้ความรู้และข่าวสาร

1.3.3. 3.เพื่อใช้ในการค้นคว้า

1.3.4. 4.เพื่อจรรโลงมนุษย์

1.3.5. 5.เพื่อนันทนาการ

2. ฐานข้อมูล

2.1. ประกอบด้วยกลุ่มการจัดการข้อมูลสำหรับผู้ใช้หนึ่งคนหรือหลายๆคนโดยทัวไปมักอยู่ในรูปแบบดิจิทัลวิธีการแบ่งชนิดของฐานข้อมูลในรูปแบบหนึ่งคือแบ่งตามชนิดของเนื้อหา เช่น บรรณานุกรม เอกสารตัวอักษรสถิติ

2.2. รบบจัดการฐานข้อมูล

2.2.1. ระบบจัดการฐานข้อมูล(DBMS)ประกอบด้วยซอฟแวร์ที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล จัดเตรียมพื้นที่ในการเก็บ การเข้าถึง ระบบรักษาความปลอดภัยสำรองข้อมูล

2.3. การออกแบบฐานข้อมูล

2.3.1. มีความสำคัญต่อการจัดการะบบฐานข้อมูล(DBMS)ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลที่ภายในฐานข้อมูลจะต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ของข้อมูล แบ่งวิธีการสร้างฐานข้อมูลได้ 3ประเภท

2.3.1.1. รูปแบบข้อมูลลำดับชั้น หรือโครงสร้างแบบลำดัลชั้น

2.3.1.2. รูปแบบข้อมูลแบบเครือยข่าย

2.3.1.3. รูปแบบความสัมพันธ์ข้อมูล

2.4. การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์

2.4.1. 1.การรวบรวมและวิเคราะห์ความต้องการในการใช้ข้อมูล

2.4.2. 2.การเลือกระบบจัดการฐานข้อมูล

2.4.3. 3.การออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด

2.4.4. 4.การนำฐานข้อมูลที่ออกแบบในระดับแนวคิดแนวเข้าสู้ระบบจัดการข้อมูล

2.4.5. 5.การออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ

2.4.6. 6.การนำฐานข้อมูลไปใช้และการประเมิน

2.5. การออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ

2.5.1. การออกแบบฐานข้อมูลระดับตรรกะ หรือในแนวคิดเป็นขั้นตอนดารออกแบบความสัมพัธ์ระหว่างข้อมูลในระบบ