ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษา บทที่2

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษา บทที่2 by Mind Map: ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการศึกษา บทที่2

1. ประวัติและพัฒนาการของการวัดและประเมินผลในประเทศไทย

2. จำแนกตามคุณลักษณะของสิ่งที่วัด

3. ลักษณะการประเมินผลทางการศึกษา

3.1. แบ่งตามจุดประสงค์ของการประเมิน

3.2. แบ่งตามการอ้างอิง

3.3. แบ่งตามผู้ประเมิน

4. ปรัชญาของการวัดผลและประเมินผล

5. คุณธรรมของนักวัดผลการศึกษา

5.1. มีความซื่อสัตย์สุจริต

5.2. มีความยุติธรรม

5.3. มีความขยันและอดทน

5.4. มีความละเอียดถี่ถ้วนและรอบคอบ

5.5. มีความรับผิดชอบสูง

5.6. ตรงต่อเวลา

5.7. สนใจเทคนิคการวัดผลอย่างสม่ำเสมอ

6. ประวัติและการวัดิและการพัฒนาการวัดผลและหลักการวัดและประเมินผลการศึกษา

6.1. ประวัติและพัฒนาการของวัดผลและประเมินผลต่างประเทศ

7. ประโยชน์ของการวัดและประเมินผล

7.1. ประโยชน์ต่อครู

7.2. ประโยชน์ต่อนักเรียน

7.3. ประโยชน์ต่อการแนะแนว

7.4. ประโยชน์ต่อผู้บริหาร

7.5. ประโยชน์ต่อการวิจัย

7.6. ประโยชน์ต่อผู้ปกครอง

8. ขั้นตอนของการวัดและประเมินผล

9. มาตราการวัด

9.1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)

9.2. มาตราเรียงลำดับ (Ordial Scale)

9.3. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)

9.4. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)

9.5. ความมุ่งหมายของการวัดและประเมินผล

9.5.1. การจัดตำแหน่ง

9.5.2. การคัดเลือก

9.5.3. การวินิจฉัย

9.5.4. การเปรียบเทียบพัฒนาการ

9.5.5. การประเมินค่า

9.5.6. เพื่อจูงใจการเรียน

10. ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดผลและการประเมินผล

11. ความหมายของการทดสอบ การวัดผลและประเมินผล

11.1. ความหมายของการทดสอบ

11.2. ความหมายของการวัดผล

11.3. ความหมายของการประเมินผล

12. ธรรมชาติของการวัดผลทางการศึกษา

12.1. 1.การวัดผลผลทางการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่สมบูรณ์

12.2. 2.การวัดผลทางการศึกษาเป็นการวัดทางอ้อม

12.3. 3.การวัดผลทางการศึกษาย่อมมีการคลาดเคลื่อน

12.4. 4.ผลจากการวัดทางการศึกษาแสดงในรูปของความสัมพันธ์

12.5. 5.การวัดผลทางการศึกษาเป็นการวัดที่ไม่มีศูนย์แท้หรือศูนย์สมบูรณ์

13. ประเภทของการวัด

13.1. ความหมายจากการเปรียบเทียบ

14. หลักการวัดผลทางการศึกษา

15. กระบวนการประเมินผล

16. ข้อควรคำนึงเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลทางการศึกษา

17. ความสัมพันธ์ระหว่างการวัดผลกับกระบวนการการเรียนการสอน

17.1. เนื้อหาต้องเขียนเป็นรายคาบหรือรายชั่วโมงตามตารางสอน

17.2. ความคิดรวบยอดหรือสรุปหลักการสำคัญ

17.3. จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

17.4. กิจกรรมการเรียนการสอร

17.5. สื่อที่ใช้

17.6. วัดผล

18. ความสัมพันธ์ของการทดสอบ การวัด และการประเมินผล