ของเสีย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ของเสีย by Mind Map: ของเสีย

1. เกณฑ์การพิจารณาเลือกพื้นที่ฝังกลบขยะ

1.1. อยู่ไม่ไกลจากแหล่งกำเนิดขยะ(ไม่ควรเกิน15กม.)

1.2. มีขนาดพื้นที่เพียงพอรองรับขยะ15-20ปี

1.3. รูปแบบการฝังกลบเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ

1.3.1. 1.ไม่อยู่ในพื้นที่ลุ่มน้ำชั้น1,2

1.3.2. 2.อยู่ห่างโบราณสถาน(ไม่น้อยกว่า1กม.)

1.3.3. 3.ห่างจากบ่อน้ำดื่ม700กม.

1.3.4. 4.ห่างจากสนามบินไม่น้อยกว่า5กม.

1.3.5. 5.ห่างจากแหล่งน้ำธรรมชาติไม่น้อยกว่า300ม.

1.3.6. 6.เป็นที่ดอนน้ำไม่ท่วม

1.4. คุณสมบัติของดิน ซึมซับน้ำต่ำ/น้ำผานยาก

1.5. ห่างจากระดับน้ำใต้ดิน ไม่น้อยกว่า10ฟุต

2. การคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด

2.1. เป็นหน้าที่ของทุกคนในการคัดแยกขยะ

2.2. ดำเนินการภายหลังเมื่อมีขยะแล้ว

2.3. เป็นกิจกรรมเริ่มต้นต่อการนำขยะมาใช้ใหม่

2.4. ช่วยลดปริมาณขยะที่จะนำไปกำจัด/ทำลาย

2.5. ประหยัดงบประมาณ

2.6. เจ้าของสถานที่จัดเตรียมภาชนะรองรับขยะที่คัดแยก

2.7. ผู้สนับสนุนการคัดแยก

2.8. การเก็บรวบรวมขยะ

2.8.1. กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ขององค์กรปกครองท้องถิ่น

3. ภาชนะรองรับขยะ

3.1. ถังสีเขียว

3.1.1. ขยะเน่าเสียง่าย/ขยะเปียก

3.2. ถังสีเหลือง

3.2.1. ขยะรีไซเคิล

3.3. ถังสีแดง

3.3.1. ขยะอันตราย

3.4. ถังสีน้ำเงิน

3.4.1. ขยะทั่วไป/ย่อยสลายมาก

4. หลักการทำงาน

4.1. ลดขยะ

4.2. คัดแยกขยะ

5. ขนขยะจากสถานที่ต่างๆ

5.1. จุดพักขยะ

5.1.1. ขนถ่ายไปกำจัด/แปรรูปใช้ประโยชน์

6. ขยะมูลฝอย

6.1. ประเภท

6.1.1. ทางกายภาพ

6.1.1.1. 1.ขยะเปียก

6.1.1.2. 2.ขยะแห้ง

6.1.1.3. 3.เถ้า

6.1.1.4. 4.เศษสิ่งก่อสร้าง

6.1.1.5. 5.ซากสัตว์

6.1.1.6. 6.ตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสีย

6.1.1.7. 7.ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์

6.1.2. องค์ประกอบ

6.1.2.1. 1.ขยะอินทรีย์

6.1.2.2. 2.ขยะรีไซเคิล

6.1.2.3. 3.ขยะที่นำกลับมาใช้ประโยชนืใหม่ไม่ได้

6.1.2.4. 4.ขยะติดเชื้อ

6.1.3. แหล่งกำเนิด

6.1.3.1. 1.ขยะชุมชน

6.1.3.2. 2. ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม

6.1.3.3. 3.ขยะจากภาคเกษตรกรรม

7. ของเสียอันตราย

7.1. ประเภท

7.1.1. องค์ประกอบ

7.1.1.1. 1.กรดอินทรีย์

7.1.1.2. 2.กรดอนินทรีย์

7.1.1.3. 5.นำ้มันหล่อลื่นใช้แล้ว

7.2. 4.กากตะกอนจากกระบวนการบำบัด

7.3. แหล่งกำเนิด

7.3.1. 1.ขยะจากชุมชน

7.3.2. 2.ขยะจากดรงงานอุตสาหกรรม

7.3.3. 3.ขยะจากการเกษตร

7.3.4. 4.ขยะจากสถานพยาบาล

7.4. คุณลักษณะ

7.4.1. 1.ความสามารถติดไฟง่าย

7.4.2. 3.โลหะหนัก

7.4.2.1. ขยะจากสถานพยาบาล

7.4.3. 2.ความสามารถกัดกร่อน

7.4.4. 3.ความสามารถในการทำปฎิริยา

7.4.5. 4..ขยะจากสถานพยาบาล

8. การลด/คัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด

8.1. ดำเนินการเก็บขยะจากแหล่งกำเนิด

8.1.1. บ้านเรือน/อาคาร/สำนักงาน/ร้านค้า

8.1.2. เป็นความรับผิดชอบของเจ้าของบ้าน/ร้านค้า

8.1.3. ส่วนประกอบวัสดุรีไซเคิล

8.2. การเลือก/หลีกเลี่ยงสินค้า

8.2.1. เลือกใช้สินค้าที่ส่งคืนบรรจุภัณฑ์ที่ผลิต

8.2.1.1. ระบบมัดจำและคืนเงิน

8.2.1.2. บรรจุภัณฑ์ใช้ประโยชน์ได้

8.2.2. ปฏิเสธ/หลีกเลี่ยงสินค้าที่จะสร้างปัญหาขยะ

8.2.2.1. มีหีบห่อหลายชั้น

8.2.2.2. ใช้ประจำวันที่มีขนาดบรรจุภัณฑ์เล็กกว่า

8.2.2.3. เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม กล่องโฟม

8.2.3. อายุการใช้งานต่ำ

8.3. การใช้ซ้ำ

8.3.1. สินค้าที่ใช้ได้หลายครั้ง

8.3.2. สินค้าเติมใหม่

8.3.3. ซ่อมแซมเครื่องใช้

8.3.4. นำวัสดุเหลือใช้มาใช้ใหม่

8.3.5. ใช้สิ่งของร่วมกัน

8.4. หลักการทำงานเก็บ/รวบรวมขยะ

8.4.1. การเก็บกักขยะ

8.4.1.1. บุคคลากรมีความรู้วิธีเก็บกักขยะอันตราย

8.4.1.2. ควรมีภาชนะเก็บขยะอันตรายแต่ละประเภท/มีฝาปิด

8.4.1.3. มีเครื่องหมายแสดงประเภทของขยะอันตราย

8.4.1.4. เก็บขยะในที่ร่ม/อากาศถ่ายเท

8.4.1.5. เมื่อขยะมากพอ นำไปทำลายอย่างถูกวิธี

9. วิธีกำจัดขยะ

9.1. 1.การเทกองบนพื้น

9.2. 2.ฝังกลบถูกหลักสุขาภิบาล

9.2.1. เทขยะ/บดทับ/ใช้ดินกลบ(60ซม.)

9.2.2. ขุดดิน / เทขยะ / บดทับ / ใช้ดินกลบ

9.2.3. เทขยะ/บดทับ/ใช้ดินกลบ

9.3. 3.ฝังกลบวิธีพิเศษ

9.4. 4.เผาในเตาเผา