บทที่3 โรคพืช

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่3 โรคพืช by Mind Map: บทที่3 โรคพืช

1. วิธีวินิจฉัยโรคพืช

1.1. 1.เก็บตัวอย่างบันทึกรายละเอียด

1.2. 2.symptoms & sign

1.3. 3.Koch's rules

1.3.1. Constant association of the pathogen and disease

1.3.1.1. เชื่อสาเหตุโรคมีควาทสัมพันธ์กับโรค (ต้องพบเชื้อนี้ในพืชที่เป็นโรคนั้นเสมอ)

1.3.2. Isolation of the pure culture

1.3.2.1. แยกเชื้อสาเหตุโรคจากพืชที่เป็นโรคให้บริสุทธิ์

1.3.2.2. เชื้อ obligate parasite ยังหาข้อสรุปไม่ได้เพราะไม่ผ่านการแยกเชื้อบริสุทธิ์

1.3.3. Inoculation into the healthy hose plant

1.3.3.1. นำเชื้อบริสุทธิ์ที่แยกได้ใส่พืชต้นปกติชนิดเดิม แล้วเกิดโรคเดิม

1.3.3.2. มีปัยจัยเกี่ยวข้องในการปลูกเชื้อ

1.3.3.2.1. พืชอ่อนแอ

1.3.3.2.2. เชื้อรุนแรง

1.3.3.2.3. ปริมาณเหมาะสม

1.3.3.2.4. สภาพแวดล้อมเหมาะต่อการเกิดโรค

1.3.4. Re-isolation

1.3.4.1. นำเชื้อที่เป็นโรคจาก ino มาแยกบริสุทธิ์อีกครั้ง ซึ่งเชื้อที่แยกได้ในครั้งนี้ต้องเหมือนเดิมจึงถือเป็นสาเหตุของโรคจริง

2. โรคจากเชื้อรา

2.1. ตรวจสาเหตุ

2.1.1. ใช้ stereo (dissecting) microscrope ดูแผลเพื่อหา signs ไม่พบนำไปใส่ใน moist chamber ข้ามคืน เขี่ยลงกระจกสไลด์ส่องด้วย compound microscope

2.1.2. Free hand section ดูด้วนกล้อง compound microscope

2.2. เก็บรักษาเชื้อ

2.2.1. 1.เลี้ยงเชื้อใน PDA ager slant

2.2.1.1. สูตร PDA 25% lactic acid 2.5ml หรือ antibiotic 200-300 ppm

2.2.2. 2.หุ้มจุกสำลีด้วย parafilm 3M

2.2.3. 3.เก็บในตู้ 4-7 °c ถ้าจะใช้ย้ายเชื้อลงอาหารใหม่แล้วบ่ม

2.3. ปลูกเชื้อ

2.3.1. 1.พืชเป็นโรควางบทพืชปกติและให้ความชื้น

2.3.2. ใช้สปอร์เชื้อราที่แขวนลอยฉีดพ่น

3. โรคจากเชื้อแบคทีเรีย

3.1. ตรวจสอบเชื้อ

3.1.1. ลักษณะฉ่ำน้ำ

3.1.1.1. ดู bacterial ooze ในกล้อมcompound microscope

3.1.2. แสดงอาการเหี่ยว

3.1.2.1. ตัดกิ่ง/ลำต้น แช่น้ำในแก้วในดูของเหลวสีขาวขุ่นไหลออกมา

3.1.3. ตัวอย่างพืชเป็นโรค

3.1.3.1. บดในน้ำกลั่น เขี่ยเศษพืชออกนำไปย้อมแกรม (ส่วนใหญ่แกรม - ติดสีแดง)

3.2. การเก็บรักษา

3.2.1. 1.เลี้ยงใน nutrient agar slant

3.2.1.1. water agar แยกเชื้อราง่าย อาหารที่เหมาะคือ nutrient agar

3.2.2. 2.เติม paraffin เหลวนึ่งฆ่าเชื้อให้สูงกว่าระดับอาหาร

3.2.3. 3.หุ้มจุกสำลี เก็บไว้ 4-7 °c

3.2.4. 4.หากใช้ให้นำloop มาเขี่ยเชื้อเหนือparaffin จากนั้น streak ลงอาหาร แล้วบ่มเชื้อแล้ว streak ซ้ำลด paraffin เหลว

3.3. การปลูกเชื้อ

3.3.1. 1.แบคทีเรียแขวนลอยในน้ำฉีดพ่น

3.3.2. 2.ใช้เข็มเขี่ยให้เกิดแผล แล้วหยดสารแขวนลอยของเชื้อแบคทีเรีย

4. โรคจากไส้เดือนฝอย

4.1. ตรวจสอบเชื้อ

4.1.1. ตัดชิ้นส่วนแช่น้ำ ดูไส้เดือนฝอยว่ายน้ำภาตใต้ stereo microscope

4.1.2. ย้อมสี acid fuchsin ใน lactophenol ส่อง stereo

4.1.3. ถ้ามีปมที่ราก ผ่าออกดูด้วยstereo ไส้เดือนเพศมีเป็นก้อนกลมขาว

4.2. การปลูกเชื้อ

4.2.1. ผสมไส้เดือนฝอยกับดินที่ใช้ลูกพืช

5. โรคจาก ไวรัส ไวรอยด์ ไฟโตพลาสมา

5.1. ตรวจสอบโรค

5.1.1. ส่องด้วย electon microscope

5.1.2. ถ่ายทอดโรค (indicator plant) ทาน้ำคั้น/ติดตา/ทาบกิ่ง

5.1.3. ใช้วิธี serology กับเชื้อที่ผลิต antibody (ไวรอยด์ ใช้ไม่ได้ไม่มีโปรตีนหุ้ม)

5.1.4. เชื้อไวรัสมักพบผลึก inclusion body

5.2. การปลูกเชื้อ

5.2.1. ทาน้ำคั้นพืชที่เป็นโรคไวรัส ไวรอยด์ ลงพืชปกติ ที่ทำให้เกิดแผลโดย celite/carborundum

5.2.2. ใช้การติดตา/ทาบกิ่ง ถ่ายทอดโรค

6. การแยกเชื้อบริสุทธิ์

6.1. Streak plate method

6.2. dilution plate method

6.3. Tissue transplanting method