การจัดการเรียนการสอน แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน บูรณาการร่วมกับขั้นตอนในการสร้าง ผังมโนทัศน์ (Concept Map)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจัดการเรียนการสอน แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน บูรณาการร่วมกับขั้นตอนในการสร้าง ผังมโนทัศน์ (Concept Map) by Mind Map: การจัดการเรียนการสอน  แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน บูรณาการร่วมกับขั้นตอนในการสร้าง ผังมโนทัศน์ (Concept Map)

1. ขั้นที่ 4 แบ่งกลุ่มผู้เรียนในการทำกิจกรรม

1.1. เพื่อให้ผู้เรียนรู้หน้าที่ของตนเอง

1.2. เพื่อให้ผู้เรียนแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่ตนเองและเพื่อนในกลุ่มได้

2. ขั้นที่ 5 สร้างกติกาในการร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน

2.1. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักเคารพในเงื่อนไขและกติกาที่กำหนดขึ้น

2.2. ทุกคนในชั้นเรียนจะต้องยอมรับและปฏิบัติร่วมกัน

3. ขั้นที่ 6 ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง

3.1. ครูจะคอยเป็นผู้แนะนำ ตอบคำถามและสังเกต

3.2. ให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือทำกิจกรรม

4. ขั้นที่ 7 ครูให้เด็กสรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและให้เด็กได้นำเสนอผลงานของตน

4.1. ครูเป็นผู้คอยสนับสนุนให้เกิดการนำเสนอที่หลากหลายรูปแบบ

4.2. ไม่จำกัดแนวคิดในการนำเสนอของผู้เรียน

5. ขั้นที่ 8 ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง

5.1. ประเมินผลงานและพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงออกขณะร่วมกิจกรรม

5.2. กำหนดเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเนื้อหาที่จะสอนเป็นหลัก

6. การสร้าง ผังมโนทัศน์ (Concept Map)

6.1. ขั้นที่ 1 ให้ความสนใจกับหัวเรื่อง

6.1.1. หา Key Word ที่เกี่ยวข้อง

6.2. ขั้นที่ 2 จัดลำดับความสำคัญ

6.2.1. จัดลำดับความสำคัญของเนื้อหา ให้ชัดเจน

6.3. ขั้นที่ 3 จัดกลุ่ม

6.3.1. จัดกลุ่มความคิดรวบยอดที่อยู่ในระดับเดียวกัน และเกี่ยวข้องกันไว้ด้วยกัน

6.4. ขั้นที่ 4 เรียบเรียง

6.4.1. จัดความคิดรวบยอดในรูปของแผนภูมิแสดงความคิดที่เป็นระบบ

6.5. ขั้นที่ 5 เชื่อมโยงและเพิ่มข้อความ

6.5.1. เชื่อมโยงความคิดรวบยอดเข้าด้วยกันโดยใช้เส้น และใช้ข้อความในการบรรยายแต่ละเส้น

7. ทฤษฏี

7.1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เชื่อว่า การเรียนรู้ หรือการสร้างความรู้ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในของผู้เรียน โดยที่ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการนำประสบการณ์หรือสิ่งที่พบเห็นในสิ่งแวดล้อมหรือสารสนเทศใหม่ที่ได้รับมาเชื่อมโยงกับ ความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม มาสร้างเป็น ความเข้าใจของตนเอง หรือ เรียกว่า โครงสร้างทางปัญญา

8. ขั้นที่ 1 ทดสอบความรู้เกี่ยวกับเนื้อหาที่จะสอนก่อน

8.1. เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู

8.2. เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

9. ขั้นที่ 3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเสนอสิ่งที่อยากเรียนรู้

9.1. ให้ผู้เรียนเขียนถึงสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้

9.1.1. ปัญหาในชีวิตประจำวัน

9.1.2. ปัญหาของชุมชน

9.2. ให้ผู้เรียนช่วยกันคิดแนวทางแก้ปัญหาและวิธีการที่อยากลงมือปฏิบัติ

10. ขั้นที่ 2 ให้ความรู้เบื้องต้นก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนรู้

10.1. อธิบายเนื้อหาคร่าวๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเบื้องต้น

11. รูปแบบปัญหาเป็นฐานคือ

11.1. เพื่อให้เด็กเกิดทักษะต่างๆ ที่จำเป็นในการดำรงชีวิต

11.2. กิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้นเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการทำงานกลุ่ม

12. ผังมโนทัศน์

12.1. จัดประเภทของข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่เหมือนหรือแตกต่างกันไว้ในกลุ่มหรือประเภทเดียวกันโดยอาศัยคุณลักษณะร่วมกัน

13. การจัดการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐานบูรณาการร่วมกันขั้นตอนในการสร้างผังมโนทัศน์

13.1. ใช้ปัญหาจากในชีวิตประจำวันที่ตนเองสนใจ นำมาจัดความรู้เป็นแผนผังมโนทัศน์