บทที่ 2 ทรัพย์สินทางปัญญา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 2 ทรัพย์สินทางปัญญา by Mind Map: บทที่ 2 ทรัพย์สินทางปัญญา

1. ความหมายของทรัพย์สินทางปัญญา

1.1. ผลงานอันเกิดจากการประดิษฐ์ คิดค้น หรือสร้างสรรค์ของ มนุษยฺ์ เน้นที่ผลผลิตของสติปัญญาและความชำนาญ ทั้งจับต้องได้และไม่ได้

2. ผู้ประดิษฐ์และคิดค้นทรัพย์สินทางปัญญา

2.1. ผู้ที่เป็นเจ้าของทรัพย์สินดังกล่าวตาม “สิทธิใน การเป็นเจ้าของ (Property Rights)”

3. ประเภทของทรัพย์สินทางปัญญา

3.1. อยู่ ในความดูแลของกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ได้แก่

3.1.1. ลิขสิทธิ์ (Copyright)

3.1.1.1. กฏหมายลิทสิทธิ์นั้นจะให้ความคุ้มครองแก่งานสร้างสรรค์ 9 ประเภท

3.1.1.1.1. วรรณกรรม

3.1.1.1.2. นาฏกรรม

3.1.1.1.3. ศิลปกรรม

3.1.1.1.4. ดนตรีกรรม (เช่นท านอง หรือ เนื้อร้อง)

3.1.1.1.5. สิ่ง บันทึกเสียง (เทป, ซีดี)

3.1.1.1.6. โสตทัศนวัสดุ (วีซีดี, ดีวีดี หรือพวกที่มีภาพ หรือทั้งภาพและเสียง)

3.1.1.1.7. ภาพยนต์

3.1.1.1.8. แพร่เสียง แพร่ภาพ

3.1.1.1.9. อื่นใดในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ

3.1.1.2. อายุความคุ้มครองในงานทั่วไป

3.1.1.2.1. ลิขสิทธิ์จะมีอยู่ตลอดอายุผู้สร้างสรรค์ มีต่อไปอีก 50 ปี นับแต่ผู้สร้างสรรค์ถึงแก่ความตาย

3.1.1.2.2. กรณีที่เป็นผู้สร้างสรรค์ร่วม นับจากผู้สร้างสรรค์ร่วม คนสุดท้ายถึงแก่ความตาย

3.1.2. เครื่องหมายทางการค้า (Trade Mark)

3.1.2.1. เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้า เป็นสัญลักษณ์ที่บ่งบอกความเป็นตัวตนของสินค้า

3.1.2.2. อายุการคุ้มครอง

3.1.2.2.1. เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วมีอายุความคุ้มครอง 10 ปี

3.1.2.2.2. เมื่อครบ กำหนดสามารถที่จะต่ออายุได้เป็นคราว ๆ ละ 10 ปี

3.1.3. ความลับทางการค้า (Trade Secret)

3.1.3.1. ข้อมูลที่น าไปใช้ประโยชน์ในทางการค้า

3.1.4. สิทธิบัตร (Patent)

3.1.4.1. หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention)

3.1.4.2. อายุการให้ความคุ้มครอง

3.1.4.2.1. สิทธิบัตรการประดิษฐ์

3.1.4.2.2. สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

3.1.4.3. สิ่งที่จดสิทธิบัตรไม่ได้

3.1.4.3.1. จุลชีพที่มีตามธรรมชาติ สัตว์ พืช หรือสาร สกัดที่ได้จากสัตว์และพืช ซึ่งถือเป็นการค้นพบเท่านั้น

3.1.4.3.2. กฎเกณฑ์และทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

3.1.4.3.3. โปรแกรมคอมพิวเตอร์

3.1.4.3.4. วิธีการวินิจฉัย บำบัด หรือรักษาโรคมนุษย์หรือสัตว์

3.1.4.3.5. การประดิษฐ์ที่ขัดต่อศีลธรรมอันดี อนามัยหรือสวัสดิภาพของ ประชาชน

3.1.5. อนุสิทธิบัตร (Petty Patent)

3.1.5.1. การประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย และมีประโยชน์ในการใช้สอย มาก เช่น การประดิษฐ์อุปกรณ์ปอกมังคุด, มุ้งลวดแบบม้วนพับขึ้นได้

3.1.6. สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications)

3.1.6.1. ชื่อ หรือสัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่บอกแหล่งผลิตของสินค้า เช่น มะขามหวานเพชรบูรณ์

3.1.6.2. อายุการคุ้มครอง

3.1.6.2.1. สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่ขึ้นทะเบียนแล้วจะได้รับความคุ้มครองตลอดไปโดยไม่ มีก าหนดระยะเวลา

3.1.6.2.2. จนกว่าจะมีการเพิกถอนทะเบียน เช่น สภาพทางภูมิศาสตร์ หรือสถานการณ์ เปลี่ยนแปลงไปภายหลังการขึ้นทะเบียน

3.1.7. สิทธิบัตรซอฟต์แวร์ (Software Patent)

3.1.7.1. สิทธิบัตรซอฟต์แวร์จะ คุ้มครองบาง Feature, Function และ Process หรือทั้งหมดที่อยู่ในชุดค าสั่งที่จะถูกรันบนคอมพิวเตอร์ ด้วย

4. ประเด็นอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

4.1. การขโมยความคิด (Plagiarism)

4.1.1. ่บุคคลที่ขโมยความคิด และคำพูดของบุคคลอื่นมาเป็นผลงานของตน

4.2. การจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ

4.2.1. ที่ผู้แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบจะไปขอจดทะเบียนโดเมนเนมที่มีชื่อตรง กับยี่ห้อสินค้า หรือบริษัทที่มีชื่อเสียง

4.3. Peer-to-Peer Network (P2P)

4.3.1. เครือข่ายที่อนุญาตให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องใช้ Networking Program เดียวกัน สามารถเชื่อมต่อและเข้าถึงไฟล์ในเครื่องซึ่งกันและกันได้โดยตรง