การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบขับถ่ายปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบขับถ่ายปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบขับถ่ายปัสสาวะ

1. Nephrotic syndrome

1.1. สาเหตุ

1.1.1. กรวยไตเป็นแผล

1.1.2. การกรองไตผิดปกติ

1.1.3. ยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น

1.1.3.1. เช่น โรคไวรัสตับอักเสบ บี โรคมาลาเรีย และโรคมะเร็ง เป็นต้น

1.1.4. กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส (Amyloidosis)

1.1.5. Systemic lupus erythematosus (SLE)

1.1.6. โรคไตจากเบาหวาน

1.1.7. ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต

1.1.8. การใช้ยาบางชนิด

1.1.8.1. เช่น ยาแก้อักเสบ และยาต้านการติดเชื้อ เป็นต้น

1.2. อาการและอาการแสดง

1.2.1. 1. อาการบวม โดยเฉพาะในตอนเช้าจะพบว่ามีบวมที่หน้า บริเวณรอบตา และต่อมามีบวมตามตัว ข้อเท้า ท้องบวม บางครั้งบวมมากทั้งตัวจนมีนํ้าในเยื่อหุ้มปอดและในช่องท้อง

1.2.2. 2. อาการซีด

1.2.3. 3. อาการทางติดเชื้อ เช่น เป็นฝีพุพองตามบริเวณผิวหนังและที่อื่นๆ

1.2.4. 4. อาการเบื่ออาหารคลื่นไส้ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย

1.2.5. 5. ความดันโลหิตอาจสูงหรือตํ่าได้

1.3. การวินิจฉัย

1.3.1. Proteinuria > 40 mg/m2/hr (เด็ก)

1.3.2. Hypoalbuminemia (serum albumin <3.0 g/dL)

1.3.3. Dyslipidemia (serum total cholesterol >200 mg/dL)

1.3.4. Generalized edema

1.4. การรักษา

1.4.1. ให้ยาขับปัสสาวะ ยากดภูมิคุ้มกัน ยาลดคอเลสเตอรอล ยาควบคุมความดันโลหิต และยาเจือจางเลือด

1.5. การพยาบาล

1.5.1. ป้องกันหรือควบคุมการติดเชื้อ

1.5.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

1.5.3. ป้องกันหรือควบคุมอาการบวม

1.5.4. ป้องกัน hyperkalemia และ hypokalemia

1.5.5. ลดการสูญเสียพลังงาน ลดการทำงานของหัวใจ

1.5.6. เสริมสร้างภาวะโภชนาการและส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย

1.5.7. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

1.5.8. เตียมผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

2. Urinary tract infection

2.1. สาเหตุ

2.1.1. ติดเชื้อแบคทีเรีย

2.1.1.1. เช่น Escherichia, Staphylococci, Pseudomonas species, Streptococci, Gram-negative bacteria

2.1.2. จากการใส่สายสวนปัสสาวะ

2.1.3. การส่องกล้องทางท่อปัสสาวะ

2.1.4. ถ่ายปัสสาวะไม่หมด

2.1.5. มีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ

2.1.6. มีการอักเสบของเยื่อบุท่อไต

2.1.7. อื่นๆ

2.1.7.1. โรคเบาหวาน การตั้งครรภ์ ระบบประสารทผิดปกติ โรคเกาต์

2.2. อาการและอาการแสดง

2.2.1. ปัสสาวะแสบ ขัด ขุ่น ตรวจพบเม็ดเลือดขาวและแบคทีเรียในปัสสาวะ ในปัสสาวะมีเลือดและหนองปน

2.2.2. มีไข้

2.2.3. ปวดหลัง เคาะเจ็บที่ Costovertebral angle

2.3. การวินิจฉัย

2.3.1. เพาะเชื้อในปัสสาวะได้ผลบวก

2.3.2. ทำ IVP (Intravenous pyelogram), VCUG (Voiding cystourethrogram)

2.3.2.1. เพื่อดูว่ามีการอุดตันของทางเดินปัสสาวะจากต่อมลูกหมากโตหรือไม่ ซึ่งจะเกิด Cystitis เพิ่มขึ้น

2.3.3. ทำ Retrograde pyelogram, Cystoscopy

2.3.3.1. เพื่อดูว่ามีความผิดปกติของโครงสร้าง นิ่ว ก้อนเนื้องอก สิ่งแปลกปลอม ใน Lower urologic tract หรือไม่

2.4. การรักษา

2.4.1. ให้ยา Co-trimoxazole 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 7-10 วัน

2.4.2. หรือ Norfloxacin 400 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง

2.4.3. หรือ Ofloxacin 200 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง นาน 7-10 วัน

2.4.4. ให้ดื่มน้ำมากๆ

2.4.5. แช่ก้นด้วยน้ำอุ่น (Warm sitz bath)

2.5. การพยาบาล

2.5.1. ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาและสังเกตผลข้างเคียง

2.5.2. กระตุ้นให้ดื่มน้ำมากๆ

2.5.2.1. เพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงไตได้ดีขึ้น และชะล้างเชื้อแบคทีเรียจากทางเดินปัสสาวะ

2.5.3. กระตุ้นให้ปัสสาวะบ่อยๆ ทุก 2-3 ชั่วโมง

2.5.3.1. เพื่อให้กระเพาะว่างและขับเอาแบคทีเรียออกจากทางเดินปัสสาวะ

2.5.4. ควรหลีกเลี่ยงการสวนคาสายสวนปัสสาวะ

2.5.5. แนะนำทำความสะอาดหลังถ่ายปัสสาวะทุกครั้ง โดยล้างจากหน้าไปหลัง

3. นางสาวธิติมา ม่วงพันธ์ เลขที่ 31 ปี 2

4. Acute glomerulonephritis

4.1. สาเหตุ

4.1.1. ติดเชื้อ Group A beta hemolytic streptococci

4.1.1.1. เช่น ทอนซิลอักเสบ (Tonsillitis)

4.1.2. ติดเชื้อที่ไม่ใช่เชื้อ Streptococcus

4.1.2.1. เช่น Bacterial endocarditis, Sepsis

4.1.3. จากโรคอื่นๆ

4.1.3.1. เช่น Systemic lupus erythematosus (SLE), Vasculitis

4.2. อาการและอาการแสดง

4.2.1. ปวดบริเวณเอวด้านข้าง กดเจ็บบริเวณ Costovertebral

4.2.2. ปวดศีรษะ

4.2.3. มีปัญหาการมองเห็น ตาและหน้าบวม

4.2.4. อ่อนเพลีย เมื่อยล้า

4.2.5. เบื่ออาหาร

4.2.6. หอบเหนื่อยเนื่องจากมีเกลือและน้ำคั่ง มีไข้ หัวใจเต้นเร็ว ความดันเลือดสูง

4.2.7. ปัสสาวะน้อย มีเลือดปนในปัสสาวะ มีโปรตีนในปัสสาวะ

4.3. การวินิจฉัย

4.3.1. ตรวจปัสสาวะพบมีเลือดและโปรตีนปนในปัสสาวะ มี Blood urea nitrogen (BUN) สูง

4.3.2. Creatinine (Cr) ในเลือดสูง

4.3.3. ซีด

4.4. การรักษา

4.4.1. ให้ยาปฏิชีวนะ

4.4.1.1. เช่น เพนิซิลลิน เพื่อรักษาการติดเชื้อ

4.4.2. ควบคุมอาหารเค็ม น้ำ และโปรตีน

4.4.3. ให้ยาขับปัสสาวะและยาลดความดันเลือดเพื่อควบคุมความดันเลือด

4.4.4. ให้พักผ่อน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

4.5. การพยาบาล

4.5.1. บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก ชั่งน้ำหนักทุกวัน

4.5.2. บันทึกสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิเพื่อป้องกันจากการติดเชื้อ

4.5.3. ดูแลผิวหนังเพื่อป้องกันผิวแตกจากอาการบวม

4.5.4. สังเกตภาวะแทรกซ้อน

4.5.4.1. ได้แก่ ภาวะไตวาย หัวใจล้มเหลว และมีอาการทางสมองเนื่องจากความดันเลือดสูง

4.5.5. ติดตามผลการตรวจปัสสาวะเพื่อดูระดับ Blood urea nitrogen (BUN), Creatinine (Cr)

4.5.6. กระตุ้นการรักษาด้วยยาอย่างต่อเนื่อง

5. phimosis in child

5.1. สาเหตุ

5.1.1. ในเด็กยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด

5.2. อาการและอาการแสดง

5.2.1. ปัสสาวะลำบากร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

5.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่งขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ

5.2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่วนปลายบวมแดงอักเสบอาจมีสารคัดหลั่งสีเหลืองคล้ายหนองไหลออกมาร่วมด้วย

5.2.4. ลำปัสสาวะมีขนาดเล็กมากหรือถ่ายปัสสาวะเป็นหยดๆ ไม่พุ่ง

5.2.5. มีไข้ หนาวสั่น

5.2.6. ปัสสาวะกระปริดกระปรอย ปัสสาวะมีเลือดปน

5.2.7. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

5.3. การรักษา

5.3.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง

5.3.1.1. ใช้ครีม Steroid

5.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ (circumcision)

5.3.2.1. ข้อห้ามการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

5.3.2.1.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

5.3.2.1.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง

5.3.2.2. ภาวะแทรกซ้อน

5.3.2.2.1. เลือดออกบริเวณผ่าตัด

5.3.2.2.2. การอักเสบ, ติดเชื้อ

5.4. การพยาบาล

5.4.1. การดูแลหลังผ่าตัด 24 ชั่วโมงแรก หากมีเลือดออกให้ใช้ผ้าก๊อซพันแผล และกดตำแหน่งที่มีเลือดออกไว้ 10 นาทีหรือจนกว่าเลือดจะหยุด และใช้แผ่นประคบเย็น