ระบบทางเดินปัสสาวะในเด็ก (1)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบทางเดินปัสสาวะในเด็ก (1) by Mind Map: ระบบทางเดินปัสสาวะในเด็ก (1)

1. ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติตีบที่เกิดขึ้นตอนโตนั้นอาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อบริเวณปลายองคชาต

2. Nephrotic syndrome

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เกิดจากความเสียหายของเนื้อเยื่อไตโดยตรง ซึ่งสาเหตุยังไม่ทราบแน่ชัด เรียกชนิดนี้ว่า "โรคไตรั่วปฐมภูมิ"

2.1.2. เกิดความเสียหายสาเหตุจากโรคต่างๆของร่างกาย เช่น โรคเบาหวาน หรืออาการไม่พึงประสงค์จากยาบางชนิด เช่น NSAIDs เรียกว่า "โรคไตรั่วทุติยภูมิ"

2.2. พยาธิสภาพ

2.2.1. เกิดความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane มีการเพิ่ม permeability ทำให้โปรตีนรั่ว

2.3. อาการ

2.3.1. ภาวะไขมันในเลือดสูง

2.3.2. ปัสสาวะเป็นฟอง จากการมีโปรตีนในปัสสาวะ

2.3.3. น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากภาวะบวมน้ำ

2.3.4. อ่อนเพลีย

2.3.5. เบื่ออาหาร

2.3.6. ตัวบวม

2.4. การรักษา

2.4.1. การใช้ยา ยาขับปัสสาวะ เช่น ฟูโรซีไมด์ สไปโรโนแลคโตน เพื่อลดอาการบวม ยากดภูมิคุ้มกัน อย่างยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ ซึ่งอาจช่วยลดการอักเสบ ยาลดคอเลสเตอรอล กลุ่มยาสแตตินช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล ยาควบคุมความดันโลหิต

2.4.2. การฟอกไต

3. Acute glomerulonephritis

3.1. สาเหตุ

3.2. พยาธิสภาพ

3.2.1. ไตอักเสบเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุ อาจเป็นผลมาจากกรรมพันธุ์ หรือบางครั้งอาจไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด แต่มีปัจจัยบางประการที่กระตุ้นให้เกิดการอักเสบในหน่วยไตได้

3.2.2. เชื้อแบคทีเรียมาถึงไต เชื้อจะเพิ่มจำนวนและทำให้ไตอักเสบอย่างกว้างขวาง ไตอาจมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื้อไตมีพังผืด เป็นแผลเป็น มีฝีกระจายอยู่ทั่วไต ไตจะมีขนาดเล็กลงและเกิดภาวะไตวายในที่สุด

3.3. การวินิจฉัย

3.3.1. จากอาการและตรวจปัสสาวะพบมีเลือดและโปรตีนปนในปัสสาวะ มี Blood urea nitrogen (BUN) และ Creatinine (Cr) ในเลือดสูง ซีด

3.4. อาการ

3.4.1. - มีเลือดปนออกมากับน้ำปัสสาวะ (Hematuria) จนกลายเป็นสีชมพู หรือสีโคล่า - เกิดอาการบวมน้ำที่บริเวณใบหน้า มือ เท้า หรือท้อง - ความดันเลือดสูง - อาการที่ปรากฏตามร่างกาย เช่น อ่อนล้า เหนื่อย เพลีย ปวดข้อ เป็นผื่นคัน หรือมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ

3.5. การรักษา

3.5.1. ให้ยาปฏิชีวนะ

3.5.2. ควบคุมอาหารเค็ม น้ำ และโปรตีน

3.5.3. ยาขับปัสสาวะและยาลดความดันเลือดเพื่อควบคุมความดันเลือด

3.5.4. พักผ่อน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

4. Phimosois

4.1. สาเหตุ

4.1.1. ไม่ทราบสาเหตุของภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติตีบตั้งแต่แรกเกิดที่แน่ชัด

4.2. ปลายองคชาตและหนังหุ้มปลายองคชาตอักเสบ ทำให้มีอาการบวมแดงและรู้สึกเจ็บปวด

4.3. อาการ

4.3.1. ปัสสาวะไม่ออกหรือปัสสาวะลำบาก

4.3.2. รู้สึกเจ็บปวดขณะปัสสาวะ

4.4. การรักษา

4.4.1. ขึ้นอยู่กับลักษณะและความรุนแรงของอาการรวมถึงอายุของผู้ป่วยเป็นหลัก สำหรับผู้ป่วยเด็กที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใดๆร่วมด้วย แพทย์จะสอนผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีรูดเปิดผิวหนังหุ้มปลายองคชาตให้เด็กทีละน้อย เป็นประจำทุกวันจนกระทั่งเปิดได้เป็นปกติ

4.4.2. การผ่าตัด: การขลิบหนังหุ้มปลายซึ่งเป็นการผ่าตัดนำหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกและช่วยป้องกันการเกิดภาวะนี้ซ้ำ

5. ESRD

5.1. สาเหตุ

5.1.1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต เช่น มีอาการอักเสบที่ไต จากโรคต่างๆ เช่น SLE, Scleroderma, Polyarteritis nodosa เบาหวาน Hypertension นิ่วในไต และอาจเกิดจากการอุดตันของทางเดินปัสสาวะ

5.2. แบ่งเป็น 4 ระยะ

5.2.1. ระยะไตทำงานลดลง

5.2.2. ระยะที่ไตเสียหน้าที่

5.2.3. ระยะไตวาย

5.2.4. ระยะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย

5.3. อาการ

5.3.1. เหนื่อยง่าย น้ำหนักเพิ่ม บวมที่เท้า มือ และบริเวณก้นกบ ซีด อ่อนเพลีย มีเลือดออกในกระเพาะอาหาร มีรอยจ้ำเลือดที่ผิวหนังได้ง่าย หายใจเร็ว หายใจลำบาก

5.4. การรักษา

5.4.1. จำกัดอาหารโปรตีน น้ำดื่ม

5.4.2. การได้รับอาหารที่มีโปแตสเซียมที่มีคุณค่าสูง

5.4.3. ยาลดความดันเลือด ให้ยาขับปัสสาวะ ยากระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ

6. Pyelonephritis

6.1. อาการ

6.1.1. ไข้สูง

6.1.2. ปวดท้องและหลัง

6.1.3. คลื่นไส้ อาเจียน

6.2. การป้องกัน

6.2.1. ดื่มน้ำมากๆ

6.2.2. เปลี่ยนผ้าอ้อมบ่อยๆ

7. UTI

7.1. สาเหตุ

7.1.1. แบคทีเรียเข้าไปในทางเดินปัสสาวะ ผ่านทางท่อปัสสาวะโดยส่วนใหญ่โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มักเกิดจากเชื้อ E. coli และแบคทีเรียอื่น ๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร การติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สามารถก่อให้เกิดการติดเชื้อได้

7.2. อาการ

7.2.1. 1 ปัสสาวะบ่อย แต่ครั้งละน้อยๆ มีอาการคล้ายถ่ายปัสสาวะไม่สุด

7.2.2. 2 รู้สึกปวดบริเวณท้องน้อย ปวดแสบ ขัด ขณะปัสสาวะโดยเฉพาะตอนปัสสาวะสุด

7.2.3. 3 ปัสสาวะขุ่น บางครั้งมีกลิ่นผิดปกติ ในรายที่เป็นมากอาจปัสสาวะมีเลือดปน

7.3. การรักษา

7.3.1. 1 ไม่กลั้นปัสสาวะ

7.3.2. 2 รักษาสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศด้วยการทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลัง

7.3.3. 3 ไม่สวนล้างช่องคลอดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ

7.3.4. 4 หลังมีเพศสัมพันธ์ ควรปัสสาวะทิ้งและทำความสะอาดร่างกายทันที

7.3.5. 5. ควบคุมโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น เบาหวาน

7.4. การป้องกัน

7.4.1. 1. ดื่มน้ำในปริมาณมากพอสมควร เพื่อช่วยกำจัดเชื้อแบคทีเรียออกมาได้ง่ายขึ้น

7.4.2. 2. หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะที่นานเกินไป

7.4.3. 3. ทำความสะอาดจากด้านหน้าไปด้านหลัง หลังจากปัสสาวะ หรืออุจจาระ

7.4.4. 4. หลีกเลี่ยงการใช้สารระงับกลิ่น, อุปกรณ์ฉีดล้าง, แป้ง หรือผลิตภัณฑ์ของสตรีอื่น ๆ ที่ทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณอวัยวะเพศ

7.5. ภาวะแทรกซ้อน

7.5.1. 1. เกิดการติดเชื้อซ้ำ

7.5.2. 2. เกิดความเสียหายต่อไตอย่างถาวร

7.5.3. 3. หากเกิดในหญิงตั้งครรภ์ โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจะเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้เด็กคลอดก่อนกำหนด หรือมีน้ำหนักแรกเกิดน้อย

7.5.4. 4. ทำให้ท่อปัสสาวะในผู้ชายตีบแคบลง

7.5.5. 5. อาจทำให้เกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด