1. สาเหตุ
1.1. เด็กเล็ก
1.1.1. ความผิดปกติทางโครงสร้างของไตและระบบทางเดินปัสสาวะแต่กำเนิด
1.1.2. โรคทางพันธุกรรม
1.2. โรคไตอักเสบเรื้อรังกลุ่มอาการ เนโฟรติกและโรค SLE
2. Acute glomerulonephritis
2.1. สาเหตุ
2.1.1. ที่พบบ่อย Pharyngitis หรือการติดเชื้อที่ผิวหนัง
2.1.2. ในเด็กจะพบบ่อยคือ Acute Post Streptococoal glomerulonephitis
2.2. การวินิจฉัยโรค
2.2.1. ตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว casts และอัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย หรือ เพาะเชื้อไม่ขึ้น
2.2.2. การตรวจเลือด ตรวจพบระดับ Na+, K+, Cl- ปกติหรือสูงในรายที่มีอาการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอตินิน และกรดยูริคสูง
2.3. การรักษา
2.3.1. ให้ยาปฏิชีวนะ
2.3.2. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
2.3.3. ให้พักผ่อน
2.3.4. ให้ยาขับปัสสาวะและยาลดความดันเลือดเพื่อควบคุมความดันเลือด
2.4. การพยาบาล
2.4.1. บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก
2.4.2. ชั่งน้ำหนักทุกวัน
2.4.3. ตรวจปัสสาวะหา Specific gravity
2.4.4. บันทึกสัญญาณชีพโดยเฉพาะอุณหภูมิเพื่อป้องกันจากการติดเชื้อ
2.5. อาการ
2.5.1. มีอาการบวมที่หน้าโดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมที่ขาและท้อง
2.5.2. เด็กจะมีอาการซีดและอ่อนเพลีย กระสับกระส่าย แน่นอึดอัดท้อง ปัสสาวะไม่ค่อยออก
3. Phimosis in children
3.1. สาเหตุ
3.1.1. Phimosis
3.1.2. Sexual activity
3.1.3. Genitourinary procedures
3.1.4. Penile Trauma
3.2. การวินิจฉัย
3.2.1. ผู้ที่มีภาวะ Phimosis และมีอาการผิดปกติอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ปัสสาวะลำบากหรือรู้สึกเจ็บปวดบริเวณองคชาต ควรไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจโดยในเบื้องต้นแพทย์จะซักถามอาการและตรวจดูความผิดปกติขององคชาตเมื่อวินิจฉัยเรียบร้อยแล้วจึงจะพิจารณารักษาด้วยวิธีที่เหมาะสมต่อไป
3.3. อาการ
3.3.1. ปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ
3.3.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง ขณะเบ่งถ่ายปัสสาวะ
3.3.3. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้
3.3.4. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้
3.4. การรักษา
3.4.1. การรักษาโดยวิธีประคับประคอง
3.4.1.1. ใช้ครีมสเตียรอยด์ ที่มีความเข้มข้นไม่มากเกินไป
3.4.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
3.4.2.1. วัยรุ่นสามารถทำโดยยาชาเฉพาะที่
3.4.2.2. วัยเด็กดมยาสลบเพราะเด็กจะต่อต้าน
3.5. ภาวะแทรกซ้อน
3.5.1. ผู้ป่วยภาวะ Phimosis ที่มีหนังหุ้มปลายองคชาตตีบร่วมกับอาการผิดปกติอื่น ๆ เช่น เจ็บ บวมแดงหรือปัสสาวะลำบากหากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้เกิดแผลเรื้อรังหรือมีเนื้อตายและสูญเสียองคชาตไปอย่างถาวร
3.6. การวินิจฉัย
4. ESRD
4.1. การวินิจฉัยโรค
4.1.1. ตรวจพบมีอาการบวม
4.1.2. ตรวจหาระดับครีอะตินินพบว่าสูงคำนวณค่าครีอะตินินเคลียรานซ์ (CCr) น้อยกว่า10 มิลลิลิตรต่อนาที
4.1.3. ตรวจเลือดหาอิเล็กโทรไลต์ ตรวจหาจำนวนเม็ดเลือดต่ำ
4.2. อาการ
4.2.1. ตัวซีด อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เป็นตะคริว คัน ผิวหนังแห้ง ตามัว บวม เหนื่อยหอบ ถ้าเป็นมาก จะซึม ชัก หมดสติและเสียชีวิตได้
4.3. การพยาบาล
4.3.1. ชั่งน้ำหนักทุกวัน
4.3.2. ประเมินอาการบวม การหายใจ
4.3.3. ดูแลเรื่องการจำกัดน้ำดื่ม อาหารเค็ม ดูแลให้ได้ยาขับปัสสาวะ
4.3.4. ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อในช่องท้อง
5. Pyelonephritis
5.1. สาเหตุ
5.1.1. การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ
5.1.2. บางกรณีเชื้อแบคทีเรียอาจแพร่กระจายเข้าสู่กรวยไตผ่านทางกระแสเลือดได้
5.1.3. มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียอีโคไล (E. Coli)
5.2. การวินิจฉัย
5.2.1. การตรวจปัสสาวะเพื่อหาหนอง
5.2.2. การตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อแบคทีเรีย
5.2.3. ตรวจด้วยรังสีวิทยา
5.3. อาการ
5.3.1. หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
5.3.2. เจ็บปวดบริเวณหลังหรือสีข้างปวดท้อง
5.3.3. ปัสสาวะบ่อย ปวดปัสสาวะตลอดเวลา
5.3.4. ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น ขุ่น มีหนองหรือ เลือด
5.3.5. หากติดเชื้อ อาจมีสารคัดหลั่งหรือหนองที่อวัยวะเพศ
5.4. ภาวะแทรกซ้อน
5.4.1. ติดเชื้อในกระแสเลือด
5.4.2. ไตวายเฉียบพลัน
5.5. การรักษา
5.5.1. การรับประทานยาและดูแลอาการด้วยตนเองที่บ้าน
5.5.1.1. การใช้ยาปฏิชีวนะเป็นพื้นฐานการรักษากรวยไตอักเสบโดยทั่วไป
5.5.1.2. อาจให้ยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์กว้างหากไม่สามารถระบุชนิดของเชื้อแบคทีเรียได้โดยผู้ป่วยต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง
5.5.2. การรักษาในโรงพยาบาล
5.5.2.1. ฉีดยาปฏิชีวนะเข้าทางหลอดเลือดดำเป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง
6. Urinary tract intection
6.1. สาเหตุและพยาธิสภาพ
6.1.1. ในเพศหญิงเชื้อที่พบบ่อยที่สุดคือ Escherichia Coli พบว่าในเพศชายที่อายุน้อยกว่า 1 ปี เชื้อ Proteus spp. พบได้เท่าๆกับ E coli ส่วนเชื้อStaphylococcus saprophyticus และ Enterococus spp. พบได้ทั้งเพศหญิงและเพศชาย เชื้อไวรัสบางอย่างเช่น Adenovirus อาจเป็นสาเหตุของCystitis ได้
6.2. อาการ
6.2.1. เด็กเล็ก
6.2.1.1. ไข้สูงไม่ทราบสาเหตุ กระสับกระส่าย ร้องไห้เวลาปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น มีกลิ่นเหม็น คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว
6.2.2. เด็กโต
6.2.2.1. ไข้สูง ปัสสาวะแสบขับ ปัสสาวะลำบาก ปัสสาวะไม่สุด กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะรดที่นอนที่มาเป็นภายหลัง (secondaryenuresis) ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น ขุ่น มี ตะกอน มีเลือดปนได้ มีอาการปวดหรือกดเจ็บที่บริเวณท้อง ท้องน้อย หลังหรือบั้นเอว
6.3. การวินิจฉัย
6.3.1. ประวัติอาการ ประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ประวัติเพศสัมพันธ์
6.3.2. การตรวจร่างกาย การตรวจปัสสาวะดูเม็ดเลือดขาว และเม็ดเลือดแดง อาจตรวจภายในในผู้ป่วยหญิง การตรวจทางทวารหนักในผู้ชายเพื่อตรวจคลำต่อมลูกหมาก
6.3.3. การตรวจอื่นๆทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม
6.4. การพยาบาล
6.4.1. การใช้ยาปฏิชีวนะ โดยชนิด ขนาดยา (Dose)และระยะเวลาที่ใช้ยา ขึ้นกับความรุนแรงของอาการ เชื้อที่เป็นสาเหตุปัจจัยเสี่ยง
6.4.2. - เเนะนำถ่ายปัสสาวะซ้ำ (Double voiding) - ลดการติดเชื้อ ให้ยาปฏิชีวนะ - ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อให้นํ้าปริมาณมาก - ให้นํ้าโดยการดื่มและ/หรือทางหลอดเลือดดำ
6.4.3. การรักษาประคับประคองตามอาการ
7. Nephrotic syndrome
7.1. สาเหตุ
7.1.1. กรวยไตเป็นแผล
7.1.2. โรคไตจากเบาหวาน
7.1.3. การใช้ยาบางชนิด เช่น ยาแก้อักเสบ และยาต้านการติดเชื้อ เป็นต้น
7.1.4. เยื่อบุผิวภายในกรวยไตหนาตัวขึ้น
7.1.5. ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต
7.1.6. เกิดร่วมกับ SLE
7.2. การวินิจฉัย
7.2.1. แพทย์มักเริ่มวินิจฉัยอาการ Nephrotic Syndromeด้วยการสอบถามอาการผิดปกติที่เกิดขึ้น ตรวจประวัติการเจ็บป่วย ตรวจร่างกายและตรวจปัสสาวะโดยเก็บตัวอย่างปัสสาวะใน 24 ชั่วโมงเพื่อตรวจปริมาณของโปรตีนที่ปนอยู่ในน้ำปัสสาวะ
7.3. อาการ
7.3.1. เบื่ออาหารท้องเสีย
7.3.2. บวมกดบุ๋ม
7.3.3. ปัสสาวะผิดปกติมีโปรตีนในปัสสาวะ
7.3.4. หายใจลำบากเนื่องจากมีน้ำในช่องท้อง
7.4. ภาวะแทรกซ้อน
7.4.1. Hypovolemia
7.4.2. การติดเชื้อ
7.4.3. Thrombosis
7.4.4. ไตวายเฉียบพลัน ไตวายเรื้อรัง
7.5. การรักษา
7.5.1. ยาขับปัสสาวะ
7.5.2. ยากดภูมิคุ้มกัน
7.5.3. ยาเจือจางเลือด
7.5.4. ยาควบคุมความดันโลหิต