การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะในผู้ป่วยวัยเด็ก

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะในผู้ป่วยวัยเด็ก by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะในผู้ป่วยวัยเด็ก

1. Urinary Tract Infection

1.1. ความหมาย

1.1.1. การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะเนื่องจากภาวะติดเชื้อ เป็นการติดเชื้อที่พบบ่อยใน ผู้ป่วยเด็กประมาณร้อยละ 7-8 ของผู้ป่วยเด็กเพศหญิง และร้อยละ 2 ของเพศชาย มีการติดเชื้อในทางเดิน ปัสสาวะในช่วง 8 ปีแรกของชีวิต การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะซ้ำมีผลทำให้เกิดแผลเป็นที่ไต (renal scar)

1.2. สาเหตุ

1.2.1. ในเพศหญิงเชื้อที่พบบ่อยที่สุดคือ Escherichia Coli

1.2.2. Klebsiella spp.

1.2.3. Proteus spp.

1.2.4. Staphylococcus saprophyticus

1.2.5. Enterococus spp. พบได้ทั้งเพศหญิงและเพศชาย

1.3. พยาธิสรีรวิทยา

1.3.1. การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็ก

1.3.2. การระบายออกของปัสสาวะที่เพียงพอ (adequate urine flow)

1.3.3. ความปกติของเยื่อบุทางเดินปัสสาวะ (intact uroepithelium)

1.3.4. การอุดกั้นในทางเดินปัสสาวะ

1.4. อาการ

1.4.1. Pyelonephritis

1.4.1.1. มีอาการปวดท้องหรือ flank pain ไข้สูง อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย บางรายอาจมี ไข้อย่างเดียว ในทารกแรกเกิดจะไม่มีอาการเฉพาะที่ แต่จะมีอาการของ sepsis เช่น น้ าหนักลด poor feeding, irritability, jaundice

1.4.2. Cystitis กระเพาะปัสสาวะอักเสบ

1.4.2.1. มีอาการ dysuria, urgency, frequency, incontinence กดเจ็บบริเวณ suprapubic ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น มักไม่มีไข้ ภาวะนี้ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไต เชื้อ E coli และ adenovirus 11 และ 8 21 เป็นสาเหตุที่พบบ่อยของ acute hemorrhagic cystitis ส าหรับการติดเชื้อ adenovirus มักพบใน เด็กชายและมักจะหายได้เองภายในระยะเวลา 4 วัน

1.4.3. Asymptomatic bacteriuria

1.4.3.1. ตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะโดยไม่มีอาการ พบได้น้อยกว่าร้อยละ 1 ในเด็กก่อนวัยเรียนและวัย เรียน พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ภาวะนี้มักไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อไตยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ที่อาจ กลายเป็นการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้

1.4.4. ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น

1.5. การวินิจฉัย

1.5.1. 1. ประวัติ 2. การตรวจร่างกาย 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

1.5.1.1. 1. การตรวจปัสสาวะ (urinalysis)

1.5.1.2. 2. การเพาะเชื้อในปัสสาวะ

1.5.1.3. 3. การตรวจเลือด

1.5.1.4. 4. การตรวจทางรังสีและการตรวจอื่นๆ

2. ESRD

2.1. อาการ

2.1.1. ตัวซีด อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เป็นตะคริว คัน ผิวหนังแห้ง ตามัว บวม เหนื่อยหอบ ถ้าเป็นมาก จะซึม ชัก หมดสติและเสียชีวิตได้

2.2. สาเหตุ

2.2.1. เด็กเล็ก

2.2.1.1. โรคทางพันธุกรรม

2.2.1.2. ความผิดปกติทางโครงสร้างของไตและระบบทางเดินปัสสาวะแต่กำเนิด

2.2.2. เด็กโต

2.3. การรักษา

2.3.1. Peritoneal dialysis

2.3.2. Hemodialysis

2.3.3. Kidney transplantation

2.4. การพยาบาล

2.4.1. ดูแลผู้ป่วยที่มารับฟอกเลือดปกติ

2.4.2. ป้องกันการเกิดภาวะน้ำเกิน

3. Phimosis in Children

3.1. อาการ

3.1.1. ผิวหนังบริเวณปลายองคชาติหดรัดตัวจนไม่สามารถดึงให้เปิดขึ้นได้

3.1.2. สาวะ,รู้สึกเจ็บปวดเมื่อองคชาตแข็งตัว

3.2. สาเหตุ

3.2.1. ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาตตีบตั้งแต่เกิด

3.3. การวินิจฉัย

3.3.1. ซักประวัติ

3.3.2. ตรวจดูความผิดปกติขององคชาต

3.4. การรักษา

3.4.1. ใช้ยาสเตียรอยด์

3.4.2. ขลิบปลายองคชาต

3.5. ภาวะแทรกซ้อน

3.5.1. เจ็บ, บวมแดง,เกิดเนื้อตายและสูญเสียองคชาตไปอย่างถาวร เสี่ยงเกิดมะเร็งองคชาตมากกว่าคนทั่วไปอีกด้วย

3.6. การป้องกัน

3.6.1. การดูแลสุขอนามัยบริเวณอวัยวะเพศ

4. Nephrotic syndrome

4.1. ลักษณะเด่น

4.1.1. 1. มีโปรตีนรั่วออกมาในปัสสาวะจำนวนมาก (Proteinuria) 2. มีโปรตีนในเลือดต่ำ (Hypoproteinemia) 3.ไขมันในเลือดสูง(Hyperlipiddemia) 4. บวม (Edema)

4.2. สาเหตุ

4.2.1. 1. เกิดจากความผิดปกติที่ไต (Primary nephrotic syndrome)

4.2.1.1. Idiopathic NS เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็ก

4.2.1.2. Congeital NS

4.2.1.3. Acute post infection glomerulonephritis, Chronic glomerulonephritis

4.2.2. เกิดร่วมกับโรคอื่นๆ (Secondary nephrotic syndrome )

4.2.2.1. โรคติดต่อ

4.2.2.2. สารพิษ

4.2.2.3. ภูมิแพ้

4.2.2.4. โรคอื่นๆ SLE Multiple myeloma

4.3. พยาธิสภาพ

4.3.1. ความผิดปกติที่ Glomerular basement membrane มีการเพิ่ม permeability ทำให้โปรตีนที่มีโมเลกุลเล็กไหลรั่วผ่านออกมามากขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นอัลบูมิน และอิมมูโนโกลบิน (Ig) และอาการจะตามมา

4.4. อาการ

4.4.1. บวมรอบหนังตา (Periorbital edema)

4.4.2. อ่อนเพลีย

4.4.3. เบื่ออาหาร

4.4.4. กระสับกระส่าย

4.4.5. แน่นท้อง

4.4.6. หายใจลำบาก

4.5. หลักการวินิจฉัยโรค

4.5.1. หากวินิจฉัยว่าผู้ป่วยเป็น Nephrotic Syndrome แพทย์อาจตรวจเลือดเพื่อหาระดับโปรตีนในเลือดด้วย นอกจากนี้ แพทย์อาจต้องตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การเก็บตัวอย่างชิ้นเนื้อไปส่งตรวจ เป็นต้น เพื่อวินิจฉัยความผิดปกติของไตต่อไป

4.6. ภาวะแทรกซ้อน

4.6.1. มีการติดเชื้อ

4.6.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

4.6.3. การอุดตันของหลอดเลือด

4.7. หลักการพยาบาล

4.7.1. ป้องกันการติดเชื้อ

4.7.2. ป้องกันการแตกของผิวหนัง

4.7.3. ป้องกัน hypovolemia และ hypokalemia

4.7.4. ลดการสูญเสียพลังงาน ทำงานของหัวใจ

4.7.5. เสริมร้างภาวะโภชนาการ และส่งเสริมการเจริญเติบโต และพัฒนาการของร่างกาย

4.7.6. ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

4.7.7. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับบ้าน

5. Acute glomerulonephritis

5.1. ความหมาย

5.1.1. ภาวะที่มีการอักเสบเฉียบพลัน ของโกลเมอรูลัส ทำให้มีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้นภายในโกลเมอรูลัสทั้งเม็ดเลือดขาวและ endothelial cells ส่งผลให้เกิดอาการบวม ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตสูง ภาวะปัสสาวะมีเลือดและโปรตีน

5.2. สาเหตุ

5.2.1. ติดเชื้อจากผิวหนัง และการติดเชื้ออื่นๆ

5.2.2. ติดเชื้อ Streptococcus group A. (post-streptococcal glomerulonephritis)

5.3. พยาธิสภาพ

5.3.1. เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลที่มี การอักเสบที่เพิ่มขึ้น และความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ (basement membrane permeability) ที่ลดลงท าให้พื้นที่การกรอง (glomerular filtration surface) และอัตราการกรอง (glomerular filtration rate: GFR) ลดลง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง

5.4. อาการ

5.4.1. ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน ผู้ป่วยเด็กจะมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวม ที่ขาและท้องชนิดกดไม่บุ๋ม และบวมไม่มาก

5.4.2. ปัสสาวะน้อยมีสีเข้ม

5.4.3. อาการซีด

5.4.4. กระสับกระส่าย

5.4.5. ปวดศีรษะ

5.4.6. แน่นอึดอัดท้อง

5.4.7. ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (dysuria)

5.5. หลักการวินิจฉัยโรค

5.5.1. 1) การตรวจปัสสาวะ ตรวจพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว casts และอัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย หรือ เพาะเชื้อไม่ขึ้น

5.5.2. 2) การตรวจเลือด ตรวจพบระดับ Na+, K+, Cl- ปกติหรือสูงในรายที่มีอาการรุนแรง ระดับ BUN ครีเอติ นิน และกรดยูริคสูง

5.5.3. 3) การตรวจอื่นๆได้แก่ การเพาะเชื้อจาก pharynx พบ streptococcus ในบางรายท า renal biopsy, EKG และการถ่ายภาพรังสีเพื่อดูภาวะแทรกซ้อน

5.6. ภาวะแทรกซ้อน

5.6.1. Hypertensive encephalopathy

5.6.2. Acute cardiac decompensation

5.6.3. Acute renal failure

5.7. การรักษา

5.7.1. การพักผ่อน

5.7.2. การจำกัดน้ำดื่ม

5.7.3. การรักษาด้วยยา