หลักการพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐานการดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคลวัยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักการพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐานการดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคลวัยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ by Mind Map: หลักการพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐานการดูแลด้วยความเอื้ออาทรแก่บุคคลวัยเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ

1. การติดเชื้อจากผิวหนัง

2. hyperalbuminuria

3. Acute glomerulonephritis

3.1. สาเหตุ

3.1.1. พบบ่อยเด็กอายุ 2-12 ปี ชาย>หญิง

3.1.2. การติดเชื้อ streptococcus gr.A

3.2. พยาธิสภาพ

3.2.1. เมื่อเชื้อแบคทีเรียมาถึงไต เชื้อจะเพิ่มจำนวนและทำให้ไตอักเสบอย่างกว้างขวาง ไตอาจมีขนาดใหญ่ขึ้น เนื้อไตมีพังผืด เป็นแผลเป็น มีฝีกระจายอยู่ทั่วไต ไตจะมีขนาดเล็กลงและเกิดภาวะไตวายในที่สุด

3.3. อาการ / อาการแสดง

3.3.1. บวมที่หน้าโดยเฉพาะขอบตา บวมเท้า ขา และท้อง บวมกดไม่บุ๋ม

3.3.2. ปัสสาวะสีเข้ม แต่ถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก

3.3.3. ปวดศีรษะ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ซีด กระสับกระส่าย รุนแรงอาจถึงชัก

3.4. การวินิจฉัย

3.4.1. ประวัติ อาการ และตรวจร้างกาย

3.4.2. ตรวจห้องปฏิบัติการ

3.4.2.1. ปัสสาวะ

3.4.2.1.1. เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว อัลบูมิน ไม่พบแบคทีเรีย เพาะเชื้อไม่ขึ้น

3.4.2.2. เลือด

3.4.2.2.1. Na+, k+, CL- CO2CP ปกติ จะสูงในรายที่รุนแรง

3.4.2.2.2. BUN Cretinine uric acids สูง

3.4.2.3. เพาะเชื้อ

3.4.2.3.1. เพาะจากเชื้อ Pharynx , renal biopsy

3.5. การรักษา

3.5.1. ลดความดันโลหิต อาการบวม

3.5.2. ควมคุม ป้องกันการติดเชื้อ

3.5.3. ควบคุมอาหารและน้ำ

3.5.4. ให้ยาปฏิชีวะ

3.6. ภาวะแทรกซ้อน

3.6.1. ไตเรื้อรัง

3.6.2. ไตวายเฉียบพลัน

3.6.3. โปรตีนรั่วในปัสสาวะ

3.6.4. ความดันโลหิตสูง

4. Urinary tract infection

4.1. สาเหตุ

4.1.1. เชื้อ E. coli และแบคทีเรียอื่น ๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร

4.1.2. ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้แก่เชื้อ Herpes , Gonorrhea , Chlamydia และ Mycoplasma

4.1.3. การมีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ

4.2. อาการ / อาการแสดง

4.2.1. มีไข้ต่ำ เหลือง

4.2.2. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อทั่วตัว

4.2.3. อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน

4.2.4. เจ็บบริเวณอวัยวะเพศ

4.2.5. มีหนอง หรือ สารคัดหลั่งบริเวณอวัยวะเพศ

4.3. การวินิจฉัย

4.3.1. จากซักประวัติ อาการ และการตรวจร่างกาย

4.3.2. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

4.3.2.1. ปัสสาวะ

4.3.2.1.1. พบเม็ดเลือดขาว

4.3.2.2. ตรวจรังสีวิทยา

4.3.2.2.1. ตรวจค้นหา VUR US IPV เพื่อดูโครงสร้างระบบปัสสาวะ

4.4. การรักษา

4.4.1. การใช้ยาปฏิชีวนะ

4.4.2. ให้น้ำในปริมาณที่มากโดยการดื่ม หรือให้สารน้ำ

4.4.3. ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ

4.5. ภาวะแทรกซ้อน

4.5.1. ไตเสื่อมหน้าที่ และไตวาย

4.5.2. ความดันโลหิตสูง

4.5.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

4.5.4. sepsis โดยเฉพาะในกรณีที่ติดเชื้อบริเวณไต

5. pyelonephritis

5.1. กรวยไตอักเสบส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ซึ่งเป็นอาการที่พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ส่วนผู้ป่วยที่เป็นเด็กและผู้ที่มีระบบทางเดินปัสสาวะอุดตัน อาจเสี่ยงเป็นกรวยไตอักเสบแบบเรื้อรังได้มากกว่าคนทั่วไป

5.2. อาการ

5.2.1. มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส รู้สึกหนาวสั่น

5.2.2. เจ็บปวดบริเวณหลังหรือสีข้าง ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน

5.2.3. ปัสสาวะบ่อย รู้สึกปวดปัสสาวะตลอดเวลา เจ็บหรือแสบขณะปัสสาวะ

5.2.4. ปัสสาวะมีกลิ่นเหม็น มีสีขุ่น มีหนองหรือเลือดปนมากับปัสสาวะ

5.2.5. อาจมีหนองหรือสารคัดหลั่งบริเวณอวัยวะเพศ

5.3. สาเหตุ

5.3.1. การติดเชื้อแบคทีเรียอีโคไล (E. Coli)

5.3.2. เชื้อแบคทีเรียอาจแพร่กระจายเข้าสู่กรวยไตผ่านทางกระแสเลือด

5.4. การวินิจฉัย

5.4.1. จากซักประวัติ อาการ และการตรวจร่างกาย

5.4.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

5.4.2.1. การตรวจปัสสาวะ เพื่อตรวจหนอง เลือด หรือเชื้อแบคทีเรียที่ปะปนในปัสสาวะ

5.4.2.2. ตรวจเลือด เพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรีย

5.4.2.3. ตรวจด้วยรังสีวิทยา ด้วยการอัลตราซาวด์หรือเอกซเรย์ระบบทางเดินปัสสาวะ เพื่อตรวจหาซีสต์ เนื้องอก หรือการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ

5.5. การรักษา

5.5.1. รับประทานยาปฏิชีวนะ ถ้าติดเชื้อรุนแรงต้องฉีดยาปฏิชีวนะ

5.5.2. ดื่มน้ำมาก ๆ เพื่อขับปัสสาวะที่มีเชื้อแบคทีเรียออก

5.5.3. ไม่กลั้นปัสสาวะ และปัสสาวะทันทีเมื่อรู้สึกปวด

5.5.4. ปัสสาวะทันทีหลังจากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อแบคทีเรีย

5.5.5. ผู้ที่ตั้งครรภ์ควรเข้ารับการตรวจปัสสาวะในช่วงสัปดาห์ที่ 12-16 ของการตั้งครรภ์

5.6. ภาวะแทรกซ้อน

5.6.1. กรวยไตอักเสบชนิดเรื้อรัง

5.6.2. ภาวะความดันโลหิตสูง

5.6.3. การเกิดแผลเป็นหรือฝีในไต

5.6.4. ภาวะไตวายเฉียบพลัน

6. Nephrotic syndrome

6.1. คือกลุ่มอาการโรคไตที่มีความผิดปกติของ Glomerular >มีการซึมผ่านของ โปรตีน/อัลบูมิลเพิ่ม

6.2. กลุ่มอาการ

6.2.1. hypoproteinemia

6.2.2. hyperlipiddemia

6.2.3. edema กดบุ๋ม

6.3. สาเหตุ

6.3.1. ผิดปกติที่ไต

6.3.1.1. ideopathic NS

6.3.1.2. congrnital NS

6.3.1.3. acute post infection glomerulonephritis

6.3.2. เกิดร่วมกับโรคระบบอื่นๆ

6.3.2.1. เช่น ติดเชื้อ ภูมิแพ้ สารพิษ โรคระบบหายใจและหลอดเลือด เนื้องอกชนิดร้าย

6.4. การวินิจฉัย

6.4.1. จากประวัติอาการและการตรวจร่างกาย

6.4.2. ตรวจทางห้องปฏิบัติการ

6.4.2.1. ตรวจปัสสาวะ

6.4.2.2. ตรวจเลือด

6.4.2.3. ตรวจชิ้นเนื้อไต

6.5. ภาวะแทรกซ้อน

6.5.1. การติดเชื้อ

6.5.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

6.5.3. กาอุดตันของหลอดเลือด

6.6. อาการ

6.6.1. บวมบริเวณรอบดวงตา ท้อง แขน ขา ข้อเท้า และเท้า

6.6.2. น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ปัสสาวะเป็นฟอง ปัสสาวะน้อย อ่อนเพลีย ท้องเสีย เบื่ออาหาร

6.7. หลักการรักษา

6.7.1. ให้ยาประเภทสเตียรอยด์

6.7.2. ป้องกันและควบคุมภาวะโภชนาการ

6.7.3. ลด ควบคุมอาการบวม

6.7.4. เพิ่มโพแตสเซียม วิตามิน

7. ESRD

7.1. สาเหตุ

7.1.1. ภาวะไตเล็กและเนื้อไตผิดปกติ

7.1.2. ภาวะอุดกั้นในทางเดินปัสสวะ

7.1.3. โรคอาการทางพันธุกรรม

7.1.4. กลุ่มอาการ เนฟโฟรติก โรคเอสแอลอี ในเด็กโต

7.2. อาการ

7.2.1. ตัวซีด อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร

7.2.2. คลื่นไส้ อาเจียน

7.2.3. เป็นตระคิว ผิวหนังแห้ง คันตามตัว

7.2.4. ตามัว บวม เหนื่อยหอบ

7.2.5. กระดูกเจริญเติบโตผิดปกติ

7.3. พยาธิสภาพ

7.3.1. หน่วยไตถูกทำลายจะทำให้ความสามารถในการขจัดของเสียออกจากเลือดลดลง หรืออัตราการกรองของหน่วยกรองปัสสาวะ (GFR) ลดลง

7.4. ไตวายเรื้อรัง แบ่งเป็น 4 ระยะ

7.4.1. 1) ระยะไตทำงานลดลง

7.4.2. 2) ระยะไตเสียหน้าที่

7.4.3. 3) ระยะไตวาย

7.4.4. 4) ระยะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย

7.5. การวินิจฉัย

7.5.1. ระดับครีอะตินินพบว่าสูง (CCr) น้อยกว่า 10 มิลลิลิตรต่อนาที

7.5.2. ตรวจเลือดหาอิเล็กโทรไลต์

7.5.3. ตรวจหาจำนวนเม็ดเลือด (CBC), Uric acid, Blood urea nitrogen (BUN) สูง Sodium สูง Potassium สูง Calcium ต่ำ Phosphorus สูง Magnesium สูง CCr ต่ำ Uric Acid สูง การถ่ายภาพรังสีพบว่าไตมีขนาดเล็กลง

7.6. การรักษา

7.6.1. จำกัดอาหารโปรตีน อาหารที่มีโปแตสเซียม

7.6.2. จำกัดน้ำดื่ม จำกัดเกลือ

7.6.3. ให้ยาขับปัสสาวะ ยากระตุ้นการบีบตัวของหัวใจ

7.6.4. แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อในช่องท้อง

8. Phimosis in children

8.1. พบบ่อยในเด็กเพศชาย ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ กลับมาทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศได้

8.2. อาการ

8.2.1. ปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับถ่ายปัสสาวะ

8.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่งขณะเบ่งถ่าย

8.2.3. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศบวม แดง อักเสบ อาจมีหนอง

8.2.4. มีไข้ หนาวสั่น ปัสสาวะกระปริบกรอย มีเลือดปน

8.2.5. มีก้อนนูนใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

8.2.6. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

8.3. การวินิจฉัย

8.3.1. ซักถามอาการ

8.3.2. ตรวจดูความผิดปกติขององคชาต

8.4. การรักษา

8.4.1. สอนผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีรูดเปิดผิวหนังหุ้มปลายองคชาตให้เด็กทีละน้อยเป็นประจำทุกวันจนกระทั่งเปิดได้เป็นปกติ

8.4.2. ใช้ยาสเตียรอยด์ชนิดทาภายนอก เพื่อช่วยให้หนังหุ้มปลายนุ่มและรูดเปิดได้ง่ายขึ้น

8.4.3. ขลิบหนังหุ้มปลายซึ่งเป็นการผ่าตัดนำหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกและช่วยป้องกันการเกิดภาวะนี้ซ้ำ