การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิจัย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิจัย by Mind Map: การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวิจัย

1. ข้อมูลและสถิติ

1.1. ข้อมูลหมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งที่เราสนใจศึกษา จำแนกดังนี้

1.1.1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล

1.1.1.1. ข้อมูลเชิงคุณภาพ

1.1.1.2. ข้อมูลเขิงปริมาณ

1.1.2. แบ่งตามแหล่งข้อมูล

1.1.2.1. ข้อมูลปฐมภูมิ

1.1.2.2. ข้อมูลทุติยภูมิ

1.1.3. แบ่งตามระดับการวัดของข้อมูล

1.1.3.1. ข้อมูลนามบัญญัติ

1.1.3.2. ข้อมูลระดับเรียงอันดับ

1.1.3.3. ข้อมูลระดับช่วง

1.1.3.4. ข้อมูลระดับอัตราส่วน

1.2. สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆหรือระเบียบวิธีการที่มีระบบขั้นตอน จำแนกดังนี้

1.2.1. สถิติว่าด้วยการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

1.2.1.1. กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างให้มีขนาดพอเพียง

1.2.2. สถิติบรรยาย

1.2.2.1. นำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ

1.2.3. สถิติอ้างอิง

1.2.3.1. สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง

2. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

2.1. ได้มากจากการสอบถาม สังเกต การสัมภาษณ์ และจะดำเนินการพร้อมๆกับการเก็บรวบรวมข้อมูล

2.1.1. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

2.1.1.1. การวิเคราะห์เนื้อหา

2.1.1.2. การเทียบรูปแบบ

2.1.1.3. การสร้างคำอธิบาย

2.1.1.4. การวิเคราะห์ตามช่วงเวลา

2.1.2. ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ

2.1.2.1. 1.การเตรียมข้อมูล

2.1.2.2. 2.การแตกข้อมูล

2.1.2.3. 3.การจัดหมวดหมู่ข้อมูล

2.1.2.4. 4.การหาประเด็นหลักของข้อมูล

3. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ

3.1. สถิติบรรยายหรือพรรณนา ใช้ในการบรรยายลักษณะข้อมูลที่ได้จสกกลุ่มตัวอย่าง

3.1.1. การแจกแจงความถี่ มี 2 รูปแบบคือ

3.1.1.1. การนำเสนอรูปแบบตาราง

3.1.1.2. การนำเสนอรูปแบบกราฟ

3.1.2. การวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง

3.1.2.1. ฐานนิยม

3.1.2.2. มัธยฐาน

3.1.2.3. ค่าเฉลี่ย

3.1.3. การวัดการกระจาย

3.1.4. ค่าสหสัมพันธ์

3.2. สถิติอ้างอิง

3.2.1. ใช้ในการประมาณค่า สรุปอ้างอิงจากตัวอย่างเพียงบางส่วนไปยังประชากรที่ศึกษา

3.2.1.1. การประมาณค่าพารามิเตอร์

3.2.1.2. การทดสอบสมมติฐาน