การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง by Mind Map: การเลือกกลุ่มตัวอย่าง

1. ความหมายของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

1.1. ประชากร คือ กลุ่มของสิ่งมีชีวิต หรือไม่มีชีวิตที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา

1.2. กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชากรบางส่วนที่ถูกเลือกมา

2. ชนิดของประชากร

2.1. แบ่งตามความสามารถในการนับ

2.1.1. ประชากรที่มีจำนวนจำกัด

2.1.2. ประชากรที่มีจำนวนไม่จำกัด

2.2. แบ่งตามความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

2.2.1. ประชากรแบบเอกพันธ์

2.2.1.1. สมาชิกมีลักษณะคล้ายคลึงกัน

2.2.2. ประชากรวิวิธพันธ์

2.2.2.1. สมาชิกมีลักษณะแตกต่างกัน

3. ขั้นตอนในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

3.1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของการวิจัยอย่างละเอียด

3.2. นิยามประชากรที่จะทำการสุ่มตัวอย่าง

3.3. กำหนดหน่วยของตัวอย่าง

3.4. จัดทำรายการของหน่วยที่จะศึกษา

3.5. สร้างกรอบตัวอย่าง

3.6. ประมาณขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

3.7. วางแผนเลือกกลุ่มตัวอย่าง

3.8. ทำการเลือกกลุ่มตัวอย่างตามที่ได้วางแผนไว้

4. การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง

4.1. ใช้เกณฑ์ร้อยละ

4.2. ใช้สูตรในการคำนวณ

4.3. ใช้ตารางสำเร็จรูป

5. วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

5.1. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็น

5.1.1. การสุ่มอย่างง่าย

5.1.2. การสุ่มแบบมีระบบ

5.1.3. การสุ่มแบบแบ่งชั้น

5.1.4. การสุ่มแบบกลุ่ม

5.1.5. การสุ่มแบบหลายขั้นตอน

5.2. การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยไม่อาศัยหลักความน่าจะเป็น

5.2.1. การเลือกแบบบังเอิญ

5.2.2. การเลือกแบบโควต้า

5.2.3. การเลือกแบบเจาะจง

5.2.4. การเลือกแบบก้อนหิมะ

6. ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี

6.1. เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร

6.2. มีขนาดพอเหมาะที่จะสามารถทดสอบความเชื่อมั่นทางสถิติได้

7. ประโยชน์ของการเลือกศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง

7.1. ประหยัดทรัพยากร

7.2. ได้ผลการศึกษาเร็ว

7.3. สามารถควบคุมการดำเนินงานให้มีความถูกต้องเชื่อถือได้มากกว่า