การวิจัยทางการศึกษา กิจกรรมที่ 1-16

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การวิจัยทางการศึกษา กิจกรรมที่ 1-16 by Mind Map: การวิจัยทางการศึกษา กิจกรรมที่ 1-16

1. ประชากรและตัวอย่าง

1.1. ประชากร คือ กลุ่มของสิ่งต่างๆที่ผู้วิจัยสนใจ กลุ่มตัวอย่าง คือ ส่วนหนึ่งของประชากร

2. การวิจัย

2.1. การวิจัย เป็นกระบวนการค้นหาคำตอบตามเป้าหมายของการค้นหา ซึ่งเป็นการค้นหาในสิ่งที่ไม่เคยรู้หรืออาจเปลี่ยนแปลงได้ตามเวลา ด้วยวิธีการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้คำตอบที่ถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือ

3. รูปแบบ

3.1. เชิงคุณภาพ

3.1.1. อธิบายความสัมพันธ์ปรากฎการณ์กับสภาพแวดล้อม ตามความเป็นจริง เช่น ความหมาย ทัศนคติ

3.2. เชิงปริมาณ

3.2.1. นำข้อสรุปต่าง ๆ ที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างอ้างอิงถึงประชากร โดยใช้วิธีการทางสถิติวัดได้ในเชิงปริมาณ

4. ประเภท

4.1. เชิงทดลอง

4.1.1. แสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบโดย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มีตัวแปรในการทดลอง

4.2. เชิงบรรยาย

4.2.1. ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ โดยการสังเกต สำรวจ รวบรวมข้อมูล ไม่มีการควบคุมตัวแปร

5. กระบวนการวิจัย

5.1. 1. ขั้นการวางแผน - แนวคิด/ทฤษฎี - ปัญหา - วัตถุประสงค์ - สมมติฐาน - ออกแบบ

5.1.1. 2. ขั้นดำเนินงาน - ดำเนินตามแผน - แปลความหมาย - สรุปผล

5.1.1.1. 3. ขั้นนำเสนอผล - เขียนรายงานการวิจัย

6. เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6.1. เป็นขั้นตอนสำคัญหลังจากกำหนดปัญหาแล้ว เพื่อช่วยให้ทราบองค์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาว่า มีทิศทางไปอย่างไร ช่วยทำให้ผู้วิจัยมั่นใจว่า จะดำเนินไปทางไหน

7. การวิจัยในชั้นเรียน

7.1. ทำโดยครูผู้สอนเพื่อแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนและนำผลมา ใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน หรือส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

8. การออกแบบการวิจัย

8.1. เป็นการกำหนดแนวทางการวิจัย เพื่อให้ได้คำตอบการวิจัยที่น่า เชื่อถือและเป็นระบบ

8.1.1. 1.วัดตัวแปร

8.1.1.1. เช่น - แบบทดสอบ - แบบสอบถาม - แบบสัมภาษณ์ - แบบสังเกต

8.1.2. 2.สุ่มตัวอย่าง

8.1.2.1. หลักพิจารณา - วิธีสุ่มเหมาะสม - ขนาดกลุ่มตัวอย่างพอดี

8.1.3. 3.วิเคราะห์ข้อมูล

8.1.3.1. 1. ข้อมูลเชิงปริมาณ - สถิติเชิงบรรยาย นำเสนอข้อมูล/บรรยายลักษณะ -สถิติเชิงอ้างอิง ประมาณค่า คาดคะเน สรุปอ้างอิง

8.1.3.2. 2. ข้อมูลเชิงคุณภาพ - ใช้ความเป็นเหตุเป็นผล เช่น วิเคราะห์เนื้อหา

9. โครงงานวิจัย

9.1. บทที่ 1

9.1.1. 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 2. คำถามการวิจัย 3. วัตถุประสงค์การวิจัย 4. สมมติฐานการวิจัย 5. ขอบเขตการวิจัย 6. นิยามศัพท์เฉพาะ 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

9.2. บทที่ 2

9.2.1. 1. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. กรอบแนวคิดของการวิจัย

9.3. บทที่ 3

9.3.1. 1. ประเภทของการวิจัย 2. ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล

9.4. บทที่ 4

9.4.1. เป็นการเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้และมีการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ผลการทดลอง 2. วิเคราะห์ผลการทดลอง 3. อภิปรายผล

9.5. บทที่ 5

9.5.1. เป็นบทสรุปผลการวิจัย การอภิปรายและข้อเสนอแนะในการวิจัย 1. สรุปผลการวิจัย 2. อภิปรายผล 3. ข้อเสนอแนะ

10. สถิติเพื่อการวิจัย

10.1. ภาคบรรยาย

10.1.1. เป็นสถิติที่ต้องใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ทุกเรื่อง สถิติที่มักใช้กัน เช่น ร้อยละ การแจกแจงความถี่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่ศูนย์กลาง การวัดการกระจาย เป็นต้น

10.2. ภาคอ้างอิง

10.2.1. เป็นการรำผลข้อมูลที่เก็บได้ไปใช้อ้างอิง ถึงกลุ่มประชากร ได้แก่ 1.การประเมินค่าพารามิเตอร์ในประชากร 2. การทดสอบสมมติฐาน สถิติ เช่น Z-score T-score

11. ตัวแปรที่ศึกษาและ การสร้างเครื่องมือ

11.1. ตัวแปร คือ คุณลักษณะของสิ่งต่างๆ ที่สามารถแปรค่าได้ มี 2 ประเภท ได้แก่ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม

11.2. การสร้างเครื่องมือ 1. ศึกษาเอกสารที่้เกี่ยวข้อง 2. นิยามศัพท์ 3. สร้างเครื่องมือ 4. ตรวจสอบคุณภาพ 5. ปรับปรุงแก้ไข 6. ทดลองใช้

12. การวิเคราะห์ข้อมูล

12.1. การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การนำข้อมูลที่ได้จากกลุ่ม ตัวอย่างมาจำแนกเพื่อตอบประเด็นปัญหาการวิจัย

13. การเก็บรวบรวมข้อมูล

13.1. กระบวนการที่จะได้ข้อมูลที่ตอบสนอง วัตถุประสงค์ของการวิจัย

14. การประเมินคุณภาพวิจัย

14.1. กระบวนการในการพิจารณาตัดสินว่า งานวิจัยนั้นๆ มีความถูกต้องและมีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ผลการวิจัยในการแก้ปัญหาอื่นๆ

15. การนำเสนอการวิจัย

15.1. การเผยแพร่และนำเสนอผลงานที่ได้ศึกษา ค้นคว้า และได้พบความรู้ใหม่ๆ ซึ่งสามารถนำเสนอได้หลายแบบ