ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ by Mind Map: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ

1. 5.ประเภทของข้อมูล

1.1. ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมได้จากตัวอย่างหรือประชากร

1.1.1. 1.จำแนกตามลักษณะของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท -ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) -ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) แบ่งเป็ น 2 ชนิด 1.1 ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) 1.2 ข้อมูลแบบต่อเนื่อง (Continuous Data)

1.1.2. 2. จำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) 2.2ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data)

1.1.3. 3. จำแนกตามมาตราวัด สามารถแบ่งออกเป็น 4 มาตราดังนี้ 3.1 มาตรนามบัญญัติ (Nominal Scale) 3.2 มาตราเรียงล าดับ (Ordinal Scale) 3.3 มาตรอันตรภาค (Interval Scale) 3.4 มาตรอัตราส่วน (Ratio Scale)

2. 6.เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง

2.1. เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (Sampling Technique) เป็นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ใน การเลือกตัวอย่างเพื่อให้เป็ นตัวแทนของจำนวนประชากรทั้งหมด

2.1.1. 1.การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-probability Sampling) 2.การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น (Probability Sampling) 3.การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) 4.การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ (Systematic Random Sampling) 5.การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ(Stratified Random Sampling) 6.การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling)

3. 7.ขั้นตอนการดำเนินงานทางสถิติ

3.1. ขอบข่ายของระเบียบวิธีทางสถิติ จะเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานใน 4 ขั้นตอนหลัก คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis) การนำเสนอข้อมูล(Data Presentation) การตีความหมายข้อมูล (Data Interpretation)

4. 1.ความหมาย สถิติมีความหมายกว้างๆ 2 ประการ

4.1. 1. สถิติหมายถึง ตัวเลขหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมได้

4.2. 2. สถิติหมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล หรือระเบียบวิธีการทางสถิติ (Statistical Method)

5. 2.ขอบเขตเนื้อหาของสถิติ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท

5.1. 1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง วิธีการทางสถิติที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลหรือน าเสนอข้อมูลด้วยการบรรยาย

5.2. 2. สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง วิธีการทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงที่รวบรวมมาได้ โดยอาศัยเพียงบางส่วนของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ แล้วนำไปสรุปผล

6. 3.นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง

6.1. 1. ประชากร (Population) หมายถึงหน่วยทุกหน่วยที่เราสนใจจะท าการศึกษาซึ่งอาจเป็นบุคคล สัตว์ หรือสิ่งของ

6.2. 2. ตัวอย่าง (Sample) หมายถึง หน่วยย่อยของประชากรที่จะให้ข้อเท็จจริงต่าง ๆที่เราสนใจศึกษา

6.3. 3. พารามิเตอร์ (Parameter) หมายถึง ค่าที่คำนวณมาจากทุก ๆ หน่วยของประชากรเป็ นตัวที่บ่งชี้ถึงคุณลักษณะของประชากร

6.4. 4. ค่าสถิติ (Statistics) หมายถึง ค่าที่คำนวณได้จากข้อมูลที่เป็นตัวอย่าง เป็นตัวที่บ่งชี้ถึงคุณลักษณะของตัวอย่าง

7. 4.บทบาทของสถิติสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ

7.1. -ด้านธุรกิจ –ด้านเศรษฐกิจ –ด้านการเกษตร –ด้านการศึกษา –ด้านวิทยาศาสตร์ –ด้านอุตสาหกรรม –ด้านสาธารณสุข –ด้านการเมืองการปกครอง