สถาปัตยกรรมผังเมืองเบื้องต้น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
สถาปัตยกรรมผังเมืองเบื้องต้น by Mind Map: สถาปัตยกรรมผังเมืองเบื้องต้น

1. ที่ว่าง สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมผังเมือง

1.1. ประเภทของที่ว่าง

1.1.1. ลานเมือง(Plaza Space / Square)

1.1.1.1. ขนาด เป็นที่ว่างขนาดใหญ่ในเมือง มีการปิดล้อมปริมาตร

1.1.1.2. รูปร่าง เรขาคณิตพื้นฐานง่ายต่อการรับรู้

1.1.1.3. ระนาบพื้น โดยปกติมีการลดระดับเพื่อขอบเขตการรับรู้ที่ชัดเจน

1.1.1.4. ความต่อเนื่อง โดยรอบ ผ่านถนนหรือกลุ่มอาคาร

1.1.1.5. สถาปัตยกรรม ระบุพื้นที่รอบอาคาร เชื่อมต่อกับลานเมืองด้วยช่องเปิด

1.1.1.6. ประติมากรรม ใช้เป็นจุดหมายตา

1.1.2. ถนน

1.1.2.1. สัดส่วนการปิดล้อม สองทาง ยิ่งอาคารสูงยิ่งรับรู้ความเป็นถนนง่ายขึ้น

1.1.2.2. สัดส่วน ความสูงอาคารโดยรอบที่เหมาะสมทำให้สามารถอ้างอิงขนาดและความยาวของถนนได้

1.1.2.3. การออกแบบเพื่อลดทอนระยะ มีการกำหนดเส้นอ้างอิงเพื่อกำหนดปริมาตรรับรู้ ทั้งทางตรงและทางแยก

1.1.2.4. อาคารสูง ใช้ส่วน Podium ใส่เส้นนอนช่วยลดทอนการรับรู้ด้านความสูงที่มีผลต่อถนน

1.1.3. ทางเดินเท้า

1.1.3.1. ความสนุกสนาน เกิดได้จากกิจกรรมสองฟากฝั่งทางเดิน

1.1.3.2. ความปลอดภัย แยกจากการใช้ความเร็วสูง มีพื้นผิวและความชันที่เหมาะสม

1.1.3.3. เกิดประสบการณ์ ผ่านประสาทสัมผัสทั้งหมด ง่ายกว่าการสัญจรแบบอื่น

1.1.3.4. ความเชื่อมโยง ทำให้เกิดโครงข่ายย่อยในการสัญจร

2. สถานที่และพื้นที่ศูนย์กลาง (Places & Nodes)

2.1. อัตลักษณ์ของพื้นที่

2.1.1. องค์ประกอบ

2.1.1.1. สภาพทางกายภาพ มีความคงทน

2.1.1.1.1. กิจกรรม ทำให้เกิดประสบการณ์รับรู้

2.1.1.2. ความหมายของพื้นที่ เป็นมิติรับรู้ทางความรู้สึก

2.1.2. ประเภท

2.1.2.1. เกิดจากความเข้าใจเฉพาะกลุ่ม

2.1.2.2. เกิดจากการแลกเปลี่ยนระหว่างกลุ่ม

2.1.2.3. เกิดจากความพิเศษของลักษณะทางกายภาพ

2.2. รูปทรงเมือง

2.2.1. ที่มา

2.2.1.1. ยุคแรกจัดตั้งเมืองความความต้องการของผู้มีอำนาจ หรือความเหมาะสมทางธรรมชาติ

2.2.1.2. ต่อมามีการจัดระบบแบบแผนทางเรขาคณิต เพื่อง่ายต่อการจัดการ

2.2.1.3. มีการรวมผังเรขาคณิตเข้าไปในผังของเมืองเก่า

2.2.2. องค์ประกอบ

2.2.2.1. ทางกายภาพ

2.2.2.1.1. กลุ่มอาคาร

2.2.2.1.2. ที่ว่าง

2.2.2.1.3. ถนน

2.2.2.2. จิตใจและสังคม

2.2.2.2.1. เป็นองค์ประกอบที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

2.2.2.2.2. เมื่อผนวกกับกายภาพเกิดเป็นรูปทรงเมือง

2.3. บล็อกเมือง

2.3.1. ขนาดเล็ก

2.3.2. ขนาดกลาง

2.3.3. ขนาดใหญ่

2.4. ลำดับศักดิ์ของถนน

2.4.1. ระดับต้น เชื่อมต่อย่านพักอาศัยกับพื้นที่อื่นๆ

2.4.2. ระดับย่าน เชื่อมต่อกันเองแต่ละย่าน และเชื่อมกับถนนระดับต้นด้วย

2.4.3. ระดับพื้นที่ เชื่ิอมต่อกันเองภายในย่าน

2.4.4. เข้าสู่ที่พักอาศัย จำกัดไว้ไม่เกิด300หลังคาเรือนต่อหนึ่งสาย

2.5. ทางหลวง ทางหลัก

2.5.1. เชื่อมเมืองกับเมืองอื่น หรือเช็มบล็อคขนาดใหญ่แต่ละบล็อค

2.5.2. แยกออกจากทางสัญจรธรรมดา (ทางด่วน)

3. การออกแบบพัฒนาเมือง (Urban Design & Development)

3.1. ถนนกับการออกแบบและพัฒนาเมือง

3.1.1. เกณฑ์ในการพิจารณาเลือกรูปแบบถนน

3.1.1.1. ความซับซ้อน

3.1.1.2. ความสัมพันธ์ในการเชื่อมต่อ

3.1.2. ยิ่งการสัญจรเร็ว การพัฒนากิจกรรมในพื้นที่จะเบาบางลง

3.1.3. ปัจจุบันเริ่มให้ความสำคัญกับทางเดินเท้ามากขึ้น นำมาพัฒนากับถนนให้ใช้ได้สะดวกขึ้น

3.2. แนวคิดของการอยู่ร่วมกันบนพื้นที่ถนน

3.2.1. ความเข้าใจลักษณะของย่านพื้นที่

3.2.2. การเข้าใจลำดับศักดิ์ของถนน

3.2.3. การแบ่งพื้นที่ครอบครองหรือลักษณะกิจกรรม

4. ผังเมืองกับสถาปัตยกรรมผังเมือง

4.1. มีความแตกต่างกันที่ ผังเมืองเป็นงานด้านนโยบายและจัดแผน สถาปิกผังเมืองเพิ่มรายละเอียดและนำมาลงผัง

4.2. อยู่ภายใต้กลไกเดียวกัน

4.2.1. ระเบียบวาระ ลำดับรายละเอียดงานที่ต้องทำ

4.2.2. นโยบาย เป็นกรอบรองรับการกระทำ

4.2.3. วิสัยทัศน์ แสดงภาพอนาคต

4.2.4. กลยุทธ์ รวบรวมการตัดสินใจ เพื่อไปให้ถึงนโยบาย

4.2.5. การออกแบบ เน้นรผลลัพธ์ในตอนสุดท้าย

4.3. FAR

4.3.1. อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน

4.3.2. คิดโดยเอาที่ดินxค่าFAR ยิ่งค่ามากยิ่งหนาแน่น

4.4. OSR

4.4.1. อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม

4.4.2. คิดเป็นเปอร์เซ็น ต้องเป็นพื้นที่เปิดโล่งเท่านั้น

4.5. Setback

4.5.1. สุขอนามัย

4.5.2. ความปลอดภัย

4.6. ผังที่เกี่ยวข้อง

4.6.1. ผังภาค ใหญ่ขนาดจังหวัด

4.6.2. ผังเมืองรวม ละเอียดในสเกลเมือง

4.6.3. ผังโครงการ เริ่มเป็นงานออกแบบ มีรายละเอียดเฉพาะเจาะจง

4.6.3.1. พัฒนา

4.6.3.2. ฟื้นฟูบูรณะ

4.6.3.3. อนุรักษ์

5. ประวัติ ความเข้าใจ และ ความหมาย

5.1. ความหมาย

5.1.1. ตามกฎหมาย

5.1.1.1. เป็นอาชีพที่ใช้ศาสตร์และศิลป์ในการออกแบบวางผังเพื่อสร้างสรรค์องค์ประกอบและสภาพแวดล้อมทางกายภาพและชุมชน รวมถึงการวางผังเพื่อกำหนดกิจกรรม พื้นที่ ขนาด ความหนาแน่น ความสูง ที่โล่ง และโครงสร้างสาธารณูปโภคสาธารณูปการ

5.1.2. เป็นศาสตร์ที่เน้นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่ในทุกรูปแบบที่มีความเกี่ยวข้องกับพื้นที่เมือง (Lloyd Jones 1998)

5.2. ความคลุมเครือ

5.2.1. ขนาดพื้นที่ของโครงการ อาจเป็นเพียงส่วนหนึ่ง หรือเมืองทั้งเมือง

5.2.2. ผลงานการออกแบบ ไม่ได้เป็น Construction Drawing แต่จะเป็นไปในแนวทางของ Design Guidelines คาบเกี่ยวกับงานนโยบายผังเมือง

5.2.3. เป็นงานด้านบริหารจัดการเมือง ถูกเข้าใจว่าทับซ้อนกับ Urban Management แต่แท้จริงแล้ว งานของสถาปัตยกรรมผังเมืองจะเป็นไปในด้านการออกแบบพื้นที่ทางสังคม

5.2.4. เป็นการทำงานออกแบบ หรือเป็นขั้นตอนการทำงาน

6. ประเภทงานในวิชาชีพ

6.1. ประเภทที่แยกโดยประเภทของงาน

6.1.1. เกิดความคลุมเครือง่าย

6.2. แยกโดยเน้นขั้นตอนการทำงาน

6.2.1. ดูแลและเป็นหัวหน้างาน

6.2.2. ออกแบบ Design Guideline เพื่อเป็นกรอบในการทำงาน

6.2.3. งานที่เป็นส่วนรับผิดชอบภายใตกรอบของผังเมืองรวมทางกฎหมาย

6.2.4. งานเฉพาะอย่าง เช่น ปรับปรุงภูมิทัศน์ ปรับปรุงสาธารณูปโภค ปรับปรุงทางเท้า

6.3. ลักษณะหน้าที่ในการประกอบวิชาชีพ

6.3.1. สถาปนิกนักออกแบบ

6.3.1.1. Concept ไปจนถึง Details

6.3.2. สถาปนิกนักรวบรวม

6.3.2.1. รวบรวมข้อมูลจากทุกParty

6.3.3. สถาปนิกนักพยากรณ์

6.3.3.1. คาดการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต

6.3.4. สถาปนิกสาธารณูปโภค

6.3.4.1. มีส่วนสำคัญช่วยภูมิทัศน์เมืองพ้องกับระบบสาธารณูปโภค เพื่อให้เมืองมีความเรียบร้อย

6.3.5. สถาปนิกนักนโยบาย

6.3.5.1. ให้ความเห็น แนะนำกับผู้มีอำนาจออกนโยบาย

6.3.6. สถาปนิกผู้กำหนดแนวทางในการออกแบบ

6.3.6.1. รอยต่อรัฐกับเอกชน เพื่อสร้างแนวทางไปในทิศทางเดียวกัน

6.3.7. สถาปนิกนักจัดการ

6.3.7.1. จัดการกิจกรรม สร้างสีสันและมุมมองที่แตกต่างให้กับเมือง

6.3.8. สถาปนิกผู้กำกับ

6.3.8.1. เข้าใจอัตลักษณ์ของเมือง ออกแบบโดยไม่ให้เสีย Sense of Place

6.3.9. สถาปนิกชุมชน

6.3.10. สถาปนิกนักอนุรักษ์

7. องค์ประกอบในการรับรู้พื้นที่เมือง

7.1. ด้านกายภาพ

7.1.1. สถาปัตยกรรม

7.1.2. การออกแบบหน้าอาคาร

7.1.2.1. คุณสมบัติ

7.1.2.1.1. ควรสร้างให้เกิด sense of place

7.1.2.1.2. ระบุความชัดเจน ใน-นอกอาคาร

7.1.2.1.3. มีช่องเปิด

7.1.2.1.4. แสดงบุคลิกประเภทอาคาร

7.1.2.1.5. มีภาษาการออกแบบ

7.1.2.1.6. การให้สี

7.1.2.2. แนวทาง

7.1.2.2.1. ความเป็นเอกภาพ

7.1.2.2.2. สื่อสารกับสาธารณะ

7.1.2.2.3. เชื่อมโยงรวบรวมเป็นอันเดียวกัน

7.1.2.2.4. ให้ความสำคัญระนาบหน้าอาคาร

7.1.2.2.5. รายละเอียด

7.1.3. มวลอาคาร

7.1.4. พื้นที่ว่างในเมือง

7.1.4.1. Hardscape

7.1.4.2. Softscape