โครงสร้างทางสังคม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
โครงสร้างทางสังคม by Mind Map: โครงสร้างทางสังคม

1. กระบวนการที่มนุษย์ได้จัดขึ้นอย่างมีระบบแบบแผน ทำหน้าที่สนองความต้องการที่จำเป็น

1.1. เป็นแบบแผนพฤติกรรมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในสังคม

1.1.1. เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม

1.1.1.1. จัดไว้เป็นหมวดหมู่ตามประเภทของความต้องการ

2. ระบบของควมาสัมพันธ์รหะว่างบุคคลที่เชื่อโยงให้เกิดกลุ่มสังคมที่มีรูปแบบต่างกันตามระบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล

2.1. 1. มีกลุ่มคนจำนวนหนึ่งที่มีการติดต่อสัมพันธ์กัน

2.2. 2.การติดต่อสัมพันธ์กันเป็นไปตามกฎระเบียบและกฎเกณฑ์ทางสังคม

2.2.1. 3.มีวัตถุประสงค์ในการติดต่อสัมพันธ์กัน

2.2.1.1. 4. มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงได้เสมอ

3. กลุ่มสังคม

3.1. กลุ่มปฐมภูมิ

3.1.1. กลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์แบบใกล้สนิทสนม มีความสัมพันธ์ที่สามารถบอกความรู้สึก ปรึกษาได้ทุกเรื่อง เช่น พ่อแม่ พี่น้อง เพื่อน

3.2. กลุ่มทุติยภูมิ

3.2.1. กลุ่มที่มีความสัมพันธ์แบบเป็นทางการ มีความสัมพันธ์เฉพาะด้าน เน้นการหาผลประโยชน์ ตามสถานภาพของบุคคล เช่น ผู้โดยสาร-กระเป๋ารถเมย์ ลูกค้า-แม่ค้า

4. สถาบันสังคม

4.1. สถาบันครอบครัว

4.1.1. ผลิตสมาชิกในสังคม

4.1.2. อบรมเลี้ยงดูสมาชิกใหม่

4.1.2.1. ให้ความรัก ความอบอุ่นแก่สมาชิก

4.2. สถาบันการศึกษา

4.2.1. ถ่ายความรู้ วัฒนธรรม

4.2.1.1. สร้างบุคลิกภาพทางสังคม

4.3. สถาบันเศรษฐกิจ

4.3.1. ผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ

4.3.1.1. ช่วยเหลือเกื้อกูลกันทั้งในสังคมชนบทถึงสังคมเมือง

4.4. สถาบันการปกครอง

4.4.1. ออกกฎหมาย

4.4.1.1. สร้างระเบียบกฎเกณฑ์ให้แก่สังคม

4.4.1.1.1. รักษาปลอดภัยให้แก่สมาชิก

4.5. สถาบันศาสนา

4.5.1. ควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานทางสังคม

4.5.1.1. สร้างความปึกแผ่นให้แก่สังคม

4.5.1.1.1. ถ่ายทอดวัฒนธรรมให้แก่สังคม

4.6. สถาบันสื่อมวลชน

4.6.1. เป็นสื่อกลางของการติดต่อระหว่างบุคคล

4.6.1.1. ข้อมูลข่าวสาร

4.7. สถาบันนันทนาการ

4.7.1. สร้างสรรค์ความสามัคคี

4.7.1.1. ปลูกฝังความมีระเบียบวินัยให้แก่สมาชิก

5. การจัดระเบียบทางสังคม

5.1. เป็นการปฏิบัติภายใต้แบบแผนและกฏเกณฑ์เดียวกันของคนในสังคมม

5.2. เพื่อให้ร่วมกันในสังคมอย่างมีระเบียบ สงบสุข

6. บรรทัดฐาน

6.1. แบบแผนพฤติกรรมที่เป็นที่คาดหวังของสังคมในสมาชิกยึดถือปฏิบัติ ที่ยอมกับทั่วไป

6.2. เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบแบบแผนและความสงบสุขในสังคม

6.3. ประเภทของบรรทัดฐาน

6.3.1. วิถีประชา

6.3.1.1. เช่น การนอนหลับบนเตียงบอน การใส่รองเท้าออกนอนกบ้าน การใส่ชุดดำไปงานศพ การเขียนหนังสือด้วยมือขวา

6.3.1.2. แนวทางในการดำเนิชีวิตที่ปฏิบัติกันโดยทั่วไปจนเกิดความเคยชิน จนกลายเป็นประเพณี ใครจะปฏิบัติก็ได้ หรือไม่ทำก็ได้ ครอบคลุมพฤติกรรมด้านต่างๆ ของสังคม

6.3.2. จารีต

6.3.2.1. แนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับกับความดี ความชั่ว ความปลอดภัย มัักเป็นข้อห้ามในการกระทำบางอย่างที่สังคมส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย เช่น การทำผิด ศีลธรรมหรือผิดกฎระเบียบ

6.3.2.1.1. ตัวอย่าง

6.3.3. กฎหมาย

6.3.3.1. ข้อบังคับของรัฐที่ใช้บังคับความประพฤติของบุคคลว่าให้ทำหรือไม่ไม่ให้ทำอะไร

6.3.3.1.1. เป็นลายลักษณ์อักษร

6.4. สถานภาพและบทบาท

6.4.1. ตำแหน่งฐานะของบุคคลที่สังคมกำหนดขึ้น หรือตำแหน่งที่ได้รับจากการเป็นสมาชิกของสังคม

6.4.2. ประเภทของสถานภาพ

6.4.2.1. สถานภาพติดตัวมาตั้งแต่เกิด

6.4.2.1.1. อายุ เพศ เชื้อชาติ เชื้อพระวงศ์

6.4.2.2. สถานภาพที่ได้มาด้วยความสามารถ

6.4.2.2.1. อาชีพ การศึกษา การสมรส

6.4.2.3. บทบาท

6.4.2.3.1. หน้าที่หรือพฤติกรรมที่แต่ละสังคมกำหนดให้ผู้ที่ดำรงตำแหน่งต่างๆในสังคมกระทำ

6.4.3. การขัดเกลาทางสังคม

6.4.3.1. เป็นการเรียนรู้ทางตรงและทางอ้อม

6.4.3.1.1. ทางตรง

6.4.4. การควบคุมทางสังคม

6.4.4.1. เป็นกลไกลการควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม

6.4.4.1.1. การจูงใจให้สมาชิกปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม

6.4.4.1.2. ลงโทษสสมาชิกที่ละเมิดหรือฝ่าฝืนบรรทัดฐานของสังคม

7. ค่านิยม

7.1. สิ่งที่คนในสังคมเห็นว่าดี ถูกต้อง และพึงกระทำ

7.1.1. เป็นสิ่งที่คนส่วนใหญ่ถือว่าเป็นสิ่งต้องทำต้องปฏิบัติ เป็นสิ่งที่คนบูชายกย่องว่าดีงาม