1. ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
1.1. ความรักของแม่ที่มีต่อลูก
1.2. ความซื่อสัตย์ของสามีภรรยาย่อมทำให้ครอบครัวมีความสุข
2. จุดหมายในการแต่ง
2.1. เพื่อใช้ในการเทศน์
2.2. เพื่อนำหลักธรรมมาสอนประชาชน โดยเฉพาะ สตรี
3. คุณค่า
3.1. ด้านสังคม
3.1.1. สะท้อนให้เห็นค่านิยมอนวโลกุตรธรรมของประชาชนว่า มีความปรารถนาจะบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณ
3.1.2. ให้แง่คิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของสตรี ในฐานะมารดาและภรรยาที่ดี
3.2. ด้านวรรณกรรม
3.2.1. ใช้ถ้อยคำที่ไพเราะ มีการเล่นคำใช้สัมผัสอักษร การใช้โวหารภาพพจน์และการพรรณนาให้เกิดความรู้สึก และจินตนาการได้อย่าง
3.2.2. แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติกับอารมณ์ ความรู้สึกของตัวละคร จะเห็นได้จากเหตุการณ์ที่เกิดเรื่องร้าย แก่พระนางมัทรีขณะที่หาผลไม้อยู่ในป่า
4. ลักษณะคำประพันธ์
4.1. ร่ายยาว
5. จำนวนคาถาและเพลงประจำกัณฑ์
5.1. เพลง ทยอยโอด
5.2. ๙๐ คาถา
6. ตัวละคร
6.1. พระเวสสันดร
6.1.1. มีอุปนิสัยการบริจาคทานตั้งแต่เกิด ครั้นพระชนมายุ ได้ ๔-๕ เพื่อมุ่งหวังพระโพธิญาณในภายภาคหน้า
6.2. พระเจ้ากรุงสญชัย
6.2.1. เป็นกษัตริย์ที่เห็นแก่ประโยชน์ของบ้านเมือง มากกว่าประโยชน์ส่วนพระองค์
6.3. พระนางผุสดี
6.3.1. มีอุปนิสัยรักสวยรักงาม ยึดติดกับรูปกายภายนอก
6.4. พระนางมัทรี
6.4.1. มีความนับถือเชื่อฟัง และจงรักภักดี
6.5. ชูชก
6.5.1. เป็นพราหมณ์ที่ถือตนว่ามีกำเนิดสูงกว่าผู้อื่น มีความตระหนักเหนี่ยวแน่น มีความโลภ รักและหลงเมีย มีเลห์เหลี่ยมมาก
6.6. พระกัณหาพระชาลี
6.6.1. พระชาลีเป็นผู้มีความกตัญญูกตเวทีต่อพระบิดา พระกัณหาเป็นผู้ว่าง่าย
6.7. ท้าวสักกราช
6.7.1. เป็นเทพที่มีจิตใจดีมีความเมตตากรุณา เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม ชอบช่วยเหลือคนดีมีคุณธรรมที่กำลังตกทุกข์ได้ยาก และทรงเป็นผู้มองการณ์ไกล