การจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ นาย​ ณัฐวุธ สุขมาลี​ 5851113464

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ นาย​ ณัฐวุธ สุขมาลี​ 5851113464 by Mind Map: การจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ นาย​ ณัฐวุธ  สุขมาลี​ 5851113464

1. ระดับการจัดการ สามารถแบ่งออกได้ 3 ระดับ 1.ผู้บริหารระดับต้น คือผู้มีหน้าที่สั่งการกับฝ่ายปฏิบัติการ 2.ผู้บริหารระดับกลาง คือผู้ที่มีหน้าที่รับนโยบายจากผู้บริหารระดับสูง 3.ผู้บริหารระดับสูงคือ ผู้ที่มีหน้าทีในการกำหนดนโยบาย วางแผน

2. ความหมายของการบริหารและการจัดการ การจักการเป็นการใช้ศาสตร์และศิลปะ นำเอาทรัพยากรการบริหารมาประกอบตามกระบวนการบริหารเพื่อให้บรรถุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ

3. แนวความคิดที่เกี่ยวกับความขัดแย้ง 1 แนวคิดความขัดแย้งแบบดั้งเดิม โดยมองว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งที่ไม่ดี 2 แนวความคิดขัดแย้งแบบมนุษย์ โดยมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องธรรมชาติ 3 แนวความคิดของความขัดแย้งด้านปฎิกิริยาระหว่างกัน โดยมองว่าความขัดแย้งเกิดขึ้นควรสนับสนุนอย่างยิ่งและเป็นสิ่งจำเป็นทำให้สมาชิกร่วมกันทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

4. สาเหตุของความขัดแย้ง 1 การใช้ทรัพยากรร่วมกัน 2 การมีค่านิยมหรือความเชื่อที่แตกต่างกัน 3 นิสัยสวนตัว 4 โครงสร้างองค์การที่ไม่ชัดเจน 5 การสื่อสาร

5. การวางแผน 1.การจัดองค์การ คือการจัดโครงสร้าง 2.การจัดคนเข้าทำงาน คือหน้าที่ในหการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3.การนำ คือหน้าที่ของผู้บริหารที่ต้องใช้ศาสตร์และศิลปะในการทำหน้าที่ชักจูง 4.การควบคุม เป็นกระบวนการสุดท้ายของการบริหารจัดการในการกำหนดกฎเกณฑ์

5.1. ระดับของวัฒนธรรม 1.วัฒนธรรมทางกายภาพที่มนุยษ์สร้างขึ้น 2.ค่านิยม 3.ฐานคติ

6. บทที่2 การบริหารและการจัดการ

6.1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเพิ่มความขัดแย้ง 1 การโดนข่มขู่ 2 การรับรู้ข้อมูล 3 ความไว้วางใจ 4 การสื่อสาร

6.2. กลยุทธ์การจัดการวัฒนธรรม 1.การใช้วัฒนธรรมตนเองเป็นหลัก 2.การทำตามหรือเลียนแลลวัฒนธรรมผู้อื่น 3.การประนีประนอมทางวัฒนธรรม 4.การหลีกเลี้งวัฒนธรรม 5.การหาทางออกใหม่ของวัฒนธรรม

6.3. บทบาทของการบริหารจักการ ประกอบด้วย -บทบาทด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล -บทบาทด้านข้อมูลข่าวสาร -บทบาทด้านการตัดสินใจ

7. บทที่5 บริหารความขัดแย้ง

7.1. ความหมายของความขัดแย้ง ความขัดแย้งหมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลสองคน อาจเกิดจากความคิดเห็นหรือการปฎิบัติงานที่ไม่ตรงกัน

7.2. ลักษณะของความขัดแย้ง 1 ความขัดแย้งที่มองเห็นหรือสัมผัสได้ เช่น การโต้แย้งของบุคคล2 ฝ่าย 2 ความขัดแย้งที่มองไม่เห็นแต่สามารถรู้สึกได้ เช่น แกล้งวายเฉยไม่ให้ข้อมูล

7.3. ระดับความขัดแย้ง 1 ความขัดแย้งส่วนบุคคล 2 ความขัดแย้งระหว่างบุคคล 3 ความขัดแย้งระดับกลุ่มกรือแผนก 4 ความขัดแย้งระหว่างองค์การ

8. บทที่4 วัฒรธรรมอค์การ

8.1. วัฒนธรรมองค์การ คือ วัฒนธรรมที่ดีที่ถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์หากได้รับการดูแล มีการเจริญเติบโตและพัณนาอย่างต่อเนื่องก็ควรธำรงรักษาให้อยู่กับองค์การตลอดไป

8.2. องค์การหนึ่งซึ่งระบบความเข้าใจร่วมกันลักษณะต่างๆที่คำคัญ ประกอบด้วย 7 คุณลักษณะเบื่องต้นได้แก่ 1.ความคิดสร้าสรรค์และความเสี่ยง 2.ความสนใจต่อรายละเอียด 3.การมุ่งที่ผลลัพธ์ 4.การมุ่งที่ตัวบุคคล 5.การมุ่งที่ทีม 6.การกระทำเชิงธุรกิจ 7.ความคงที่

8.3. ประเภทของวัฒนธรรม 1.วัฒนธรรมหลักหรือวัฒธรรมแข็ง 2.วัฒนธรรมย่อยหรือวัฒธรรมอ่อน

8.4. ความสำคัญของวัฒนธรรมองค์การประกอบด้วย 1.ลักษณะเฉพาะองค์การ 2.สนับสุนให้เกิความสามัคคี 3.ความมั่นคงทางระบบสังคม 4.กำหนดพฤติกรรมของพนักงาน

9. ประเภทขององค์การ 1.แบ่งตามการเกิด 1.1 องค์การที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ครอบครัว 1.2องค์การที่เกิดจากการจัดตั้ง เช่น อำเภอ 2.แบ่งตามโครงสร้าง 2.1องค์การแบบเป็นทางการ เช่น โรงพยาบาล 2.2 องค์การแบบไม่เป็นทางการ เช่น ชมรม 3.แบ่งตามวัตถุประสงค์ 3.1 องค์กาารของรัฐ เช่น กระทรวง 3.2 องค์การเอกชน เช่น บริษัท 3.3 องค์การระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ 3.4องค์การอื่นๆ

10. ทักษะด้านการจัดการ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย Who ใครเป็นผู้ดำเนินกิจการ How Much ต้องใช้เงินเท่าไรในการดำเนินธุรกิจ How to การเปิดดำเนินธุรกิจต้องเตรียมตัวอย่างไร

11. ประเภทของผู้บริหาร 1.ผู้บริหารทำหน้าที่สั่งการ 2.ผู้บริหารทำหน้าที่ให้คำแนะนำ 3.ผู้บริหารทำหน้าที่สั่งการเฉพาะด้าน 4.ผู้บริหารทั่วไป 5.ผู้บิหาร

12. บทที่1แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจและการจัดองค์การ

12.1. ความสำคัญของธุรกิจ ธุรกิจเกิดจากคามต้องการของมนุษย์มี2ประเภท คือ 1.ความต้องการในการดำเนินชิวิต 2.ความต้องการในสิ่งที่อยากมี

12.2. เป้าหมายของธุรกิจ การประกอบธุรกิจต่างๆต่างมีเป้าหมายในการดำเนินงาน คือ กำไร ที่ได้มาอย่างยุติธรรมและเสมอภาค

12.3. เป้าหมายของธุรกิจที่สำคัญประกอบด้วย 1.เพื่อความมั่นคงของธุรกิจ 2.ความเจริญเติบโตของธุรกิจ 3.เพื่อผลประโยชน์หรือกำไร 4.เพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม

12.4. ประเภทของธุรกิจ 1.ธุรกิจพาณิชย์ 2.ธุรกิจอุตสาหกรรม 2.1อุตสาหกรรมในครัวเรือน 2.2อุตสาหกรรมโรงงาน 3.ธุรกิจการให้บริการ

12.5. ปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจ ปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินธุรกิจที่สำคัญ คือ ปัจจัย 4M's 1.Man (คน)เป็นปัจจัยในการดำเนินงาน 2.Money (เงินทุน)เป็นปัจจัยสนับสนุนหรือเอื้ออำนวยในการดำเนินงาน 3.Material(วัตถุดิบ)เป็นปัจจัยที่องค์การจัดหามาเพื่อให้การดำเนินงานไปตามเป้าหมาย 4.Method(วิธีการ)เป็นกระบวนการในการดำเนินงาน

12.6. ความหมายขององค์การ องค์การเป็นระบบในการดำเนินงานโดยอาศัยความร่วมมือร่วมใจหรือระบบในการประสานกิจกรรมต่างๆ

13. บทที่3การจัดการองค์

13.1. การจัดการองค์การ ความหมาย คือการจัดระบบการทำงานขององค์การ เพื่อให้องค์การดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

13.1.1. โครงสร้างขององค์การ 1 ภาระหน้าที่ 2 การแบ่งงาน 3 สายการบังคับบัญชา 4 ช่วงการควบคุม 5 เอกภาพในการบังคับบัญชา

13.2. บทบาทและความสำคัญของการจัดองค์การ หลังจากที่ผู้บริหารได้รับมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ สิ่งที่ควรทำต่อมาคือ การจัดองค์การและการจัดองค์การที่ดีจะช่วยให้การทำงานง่ายขึ้น

13.3. การออกแบบโครงสร้างองค์การ โครงสร้างองค์การหมายถึง แผนผังแสดงตำแหน่ง หน้าที่ ภาระความรับผิดชอบ และยังแสดงให้เหนถึงความสัมพันธ์ของงานภายในองค์การ

13.4. รูปแบบโครงสร้างองค์การ 1 โครงสร้างตามสายงาน 2 โครงสร้างตามสายงานและฝ่ายที่ปรึกษา 3 โครงสร้างองค์การแบบแยกธุรกิจ 4 โครงสร้างองค์การแบบแมททริกซ์

13.5. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออกแบบโครงสร้างองค์การ 1 กลยุทธ์ 2 สิ่งแวดล้อม 3 เทคโนโลยี 4 ขนาดขององค์การ 5 วงจรชีวิตขององค์การ