นาย สุทธิรักษ์ ปานเนาว์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นาย สุทธิรักษ์ ปานเนาว์ by Mind Map: นาย สุทธิรักษ์ ปานเนาว์

1. ประโยชน์ของการดื่มนม

1.1. นม เป็นอาหารที่ยอมรับกันว่ามีคุณค่าทางโภชนาการสูง ครบถ้วนด้วยสารอาหารหลัก 5 หมู่ นมมีโปรตีนที่ประกอบด้วยกรดอมิโนครบถ้วนทุกชนิด โดยเฉพาะชนิดที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย

2. ข้อควรระวัง

2.1. บางคนคิดว่าการรับประทานยาพร้อมกับนมจะมีประโยชน์กับร่างกาย คุณคิดผิดแล้ว ! เพราะมันอาจจะส่งผลกระทบต่อการดูดซึมของยาได้ ทำให้ความเข้มข้นของยาในเลือดลดลง ดังนั้น คุณไม่ควรดื่มนมก่อนหรือหลังรับประทานยา 1-2 ชั่วโมง สำหรับใครที่ชอบดื่มนมอุ่นๆ การต้มนมให้เดือดด้วยอุณหภูมิสูงถึง 100 องศาเซลเซียส อาจจะทำให้น้ำตาลในนมไหม้เกรียมได้ ซึ่งเป็นตัวการทำให้เกิดโรคมะเร็งได้ แคลเซียมเกิดตะกอนทำให้ดูดซึมได้ยากขึ้น ทางที่ดีการต้มเพื่อฆ่าเชื้อในนมใช้อุณหภูมิที่ 60 องศาเซลเซียสประมาณ 6 นาที หรือที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียสประมาณ 3 นาทีก็เพียงพอแล้ว การเติมน้ำมะนาวหรือน้ำส้มลงในนมอาจจะไปทำลายโปรตีนในน้ำนมได้ จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ คุณหรือลูกน้อยของคุณไม่ควรรับประทานข้าวต้มพร้อมกับการดื่มนม เพราะจะไปทำลายวิตามินเอในนมได้ และจะส่งผลให้เด็กเจริญเติบโตช้า

3. วิธีการดื่มนมอย่างถูกวิธี

3.1. การดื่มนมทุกวัน ย่อมทำให้สุขภาพร่างกายดี และการดื่มนมนั้น หากไม่เลือกเวลาดื่มอาจจะไม่ได้ประโยชน์อย่างที่กล่าวไว้เบื้องต้นก็เป็นได้ มาดูช่วงเวลาที่เหมาะสมในการดื่มนมกันดีกว่าเพื่อให้ร่างกายของเรานั้นได้ซึมซับกับของที่มีประโยชน์มากที่สุด 05.00 น.- 07.00 น. กระตุ้นลำไส้ใหญ่ ช่วงเช้าเป็นช่วงเวลาที่ลำไส้ใหญ่ของเรานั้นมีการทำงานและเคลื่อนไหวมากที่สุด หากเราได้ดื่มนมสด หรือนมเปรี้ยวเข้าไปในเวลานั้น จุลินทรีย์จะเข้าไปทำหน้าที่เคลือบลำไส้ใหญ่ ให้มีการไหลลื่นสิ่งของที่เกาะลำไส้ของเราไหลลงสู่ทวารหนัก และจะทำให้ร่างกายของเรานั้นไม่เก็บของเสียไว้ในร่างกาย 07.00 น.- 09.00 น. กระตุ้นการทำงานของกระเพาะ ช่วงเวลานี้เป็นช่วงที่ร่างกายของเราต้องการพลังงานมากที่สุด นอกจากต้องการอาหารมื้อเช้าอย่างมากแล้ว หากเราได้ดื่มนมเข้าไปจะทำให้ร่างกายของเรานั้นสดชื่นมากกว่าที่เคยเป็น เพราะอาหารจะเป็นตัวช่วยดูดซับน้ำนมที่เราดื่มเข้าไปในช่วงเช้าส่งสารอาหารเข้าไปเลี้ยงสมองทำให้เรารู้สึกปลอดโปร่งในทุกๆ วัน

4. วิชาระบบปฎิบัติการเบื้องต้น

5. อินโฟกราฟฟิก

6. ประวัติของนักวิทยาศาสตร์

7. 1.หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) หลุยส์ ปาสเตอร์ เป็นนักเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 (พ.ศ. 2365) และเสียชีวิตลงในวัย 72 ปี เมื่อวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 1895 (พ.ศ. 2438) ซึ่งเขาคนนี้ถือว่าเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ช่วยชีวิตผู้คนมากที่สุดคนหนึ่งเลยทีเดียว เพราะเป็นผู้คิดค้นวิธีรักษาโรคต่าง ๆ มากมาย เช่น โรคพิษสุนัขบ้าและโรคแอนแทรกซ์ ยิ่งไปกว่านั้น ยังช่วยทำให้เราสะดวกสบายมากขึ้น จากการคิดค้นวิธีพาสเจอร์ไรส์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคและถนอมอาหารให้เก็บได้นานขึ้นอีกด้วย

8. 3.อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) คงไม่มีใครไม่รู้จักนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันเชื้อสายยิวซึ่งเกิดเมื่อวัน ที่ 14 มีนาคม ค.ศ. 1879 (พ.ศ. 2422) และเสียชีวิตลงเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1955 (พ.ศ. 2498) ในขณะที่มีอายุ 78 ปี คนนี้ ซึ่งถึงแม้เขาจะเป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ที่คนทั่วโลกรู้จักกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน แต่ที่จริงแล้วเขาเคยเป็นเด็กที่มีปัญหาเรื่องการเรียนรู้มาก่อน โดยเขาไม่สามารถพูดได้จนกระทั่งอายุ 3 ขวบ และอ่านหนังสือออกเมื่อ 8 ขวบ จนไม่มีใครคาดคิดว่าเขาจะกลายเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จได้มากขนาดที่คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ รวมถึงสร้างทฤษฎีใหม่ ๆ มากมาย โดยเฉพาะผลงานเด่น เช่น ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษที่อธิบายว่าเราทุกคนจะมองเห็นอัตราความเร็วแสงได้ในระยะเท่ากัน และทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปซึ่งเป็นทฤษฎีที่อธิบายกฎแรงโน้มถ่วงในเชิงเรขาคณิต ซึ่งทำให้นักวิชาการหลายคนจับตามองจนได้รับรางวัลโนเบลในที่สุด

9. Profile

10. ประวัติการศึกษา

11. พอสฟอริโอ

12. ข้อมูลส่วนตัว

12.1. วันเดือนปีเกิด

12.1.1. 12 เมษายน 2546

12.2. อายุ

12.2.1. 16 ปี

12.3. E-mail

12.3.1. [email protected]

12.4. ประวัติการศึกษา

12.4.1. ชั้น ประถมศึกษา ปีที่ 1-6 โรงเรียนยอแซฟฯ อู่ทอง

12.5. นิสัยส่วนตัว

12.5.1. อารมณ์ดี

12.6. คติประจำใจ

12.6.1. ติดตลก แต่ไม่ ตลอด

12.7. ความชอบส่วน

12.7.1. แทงสนุ้กเกอร์ ขี่รถเล่น

12.8. ความใฝ่ในอนาคต

12.8.1. ทำอะไรก็ได้ขอให้พ่อแม่สบายพอ

12.9. ชื่อ

12.9.1. นาย สุทธิรักษ์ ปานเนาว์

12.10. ชื่อเล่น

12.10.1. แบงค์

12.11. ที่อยู่

12.11.1. บ้านเลขที่ 32 หมู่ 6 ต.สระยายโสม อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี

12.12. ช่องทางติดต่อ

12.12.1. เบอร์โทรศัพท์ 0924154033 Fb: Bank Suttirak

12.13. รูปประจำตัว

12.14. โปรไฟล์

13. 2.เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) แน่นอนว่าในบรรดานักวิทยาศาสตร์เก่ง ๆ จะขาดนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษอย่าง เซอร์ไอแซก นิวตัน ไม่ได้เด็ดขาด โดย เซอร์ไอแซก นิวตัน เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1642 (พ.ศ. 2185) และเสียชีวิตลงขณะอายุ 85 ปี ในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1727 หรือ พ.ศ. 2270 (ตามปฏิทินจูเลียนของ จูเลียส ซีซาร์) ซึ่งเขาเป็นอัจฉริยะที่เก่งรอบด้านทั้งในฐานะนักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักเล่นแร่แปรธาตุ และนักเทววิทยา โดยผลงานเด่นที่สุดของเขาที่คนรู้จักกันดีที่สุดก็คือ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและกฎแรงโน้มถ่วงสากล ที่เขาคิดขึ้นมาได้จากการสังเกตผลแอปเปิลที่ตกจากต้นนั่นเอง

14. สารบัญ

15. หลักฐานการศึกษา

16. หลักฐานแสดงตัวตน

17. chapter1

18. chapter2

19. chapter3

20. chapter4

21. ประกาศนียบัตร

22. รูปกิจกรรม

23. คำนำ

24. 1. พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอ

25. 6. เมนบอร์ด (Main board) แผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญๆมาไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทำงานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด มีลักษณะเป็นแผ่น รูปร่างสี่เหลี่ยมแผ่นที่ใหญ่ที่สุดในพีชี ที่จะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมทั้ง การ์ดต่อพ่วงอื่นๆ เอาไว้ด้วยกันบนบอร์ดเพียงอันเดียวเครื่องพีชีทุกเครื่องไม่สามารถทำงาน ได้ถ้าขาดเมนบอร์ด