การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ by Mind Map: การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

1. ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลักคือ ๆ

1.1. 1. หน่วยประ่มมวลผลกลาง (หน่วยประมวลผลกลาง = CUP) เปรียบสมองของคอมพิวเตอร์ที่ต้องใช้ความคิดคำนวณและประมวลผลชุดคำสั่งที่เราสั่งเข้ามา

1.2. 2.หน่วยรับข้อมูลเข้า (INput Unit) เป็นอุปกรณ์ที่รับและส่งข้อมูลเข้าไปในระบบ คอมพิวเตอร์เช่น แป้นพิมพ์ (Keyboard) , และเมาส์ (Mouse) เป็นต้น

1.3. 3.หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลลัพธ์ได้จากการประมวลผล ต่างๆ โดยอาจจะแสดงออกมา เช่น - จอภาพ - เครื่องพิมพ์ - แฟกซ์

2. อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

2.1. 1.ตัวเครื่อง (Case) ทำหน้าที่ป้องกันอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชิ้นด้านในเพื่อไม่ให้ ชิ้นส่วนที่สำคัญภายในได้รับความเสียหาย ที่ตัวเครื่องจะเห็นแต่ CD-ROM Driver Disk, ปุ่ม Power ปุ่ม Restart ที่ติดตั้งอยู่ภายนอก

2.2. 2.จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลออกมาเป็นตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว มีลักษณะคล้ายจอโทรทัศน์

2.3. 3.เมาส์ (Mouse) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้บังคับตัวชี้ (Mouse Pointer) บนจอภาพเพื่อเลือก คำสั่งต่างๆแทนการป้อนคำสั่งทางคีย์บอร์ด ช่วยในการทำงานสะดวกและรวดเร็ว มี รูปร่างคล้่ายหนูจังเรียนว่า เมาส์

2.4. 4.แป้นพิมพ์ (Keyboard) แป้นพิมพ์หรือคีย์บอร์ดเป็นอุปกรณ์สำหรับนำเข้าข้อมูลขั้นพื้นฐานทำหน้าที่เชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบคอมพิวเตอร์โดยส่งคำสั่งหรือข้อมูลจากผู้ใช้ไปสู่ หน่วยประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์ ภายในแป้นพิมพ์จะมีแผงวงจรหลักที่จะ ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมากซึ่งมีลักษณะเป็นแผ่นบางๆที่ถูกฉาบด้วย หมึกที่เป็นตัวนำไฟฟ้าเมื่อถูกกดจนติดก็จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในตัววงจรเมื่อผู้ใช้กดแป้น ใดแป้นหนึ่งข้อมูลในรูปของสัญญาณไฟฟ้าจากแป้นกดแต่ละแป้นจะถูกเปรียบเทียบรหัส (Scan Code) กับรหัสมาตรฐานของแต่ละแป้นที่กด เพื่อเปลี่ยนให้เป็นตัวอักษรตัวเลข หรือสัญลักษณ์ไปแสดงบนจอภาพ แป้นพิมพ์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า คล้าย แป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีดโดยจะมีปุ่มตัวอักษร สัญลักษณ์ และอักขระต่างๆตาม มาตรฐานสากลแต่มีแป้นกดที่ทำหน้าที่พิเศษเพิ่มขึ้น ซึ่งจะมีปุ่มต่างๆ ทั้งสิ้น 101 ปุ่มแต่ปัจจุบันอาจเพิ่มปุ่มพิเศษมากขึ้นอีกเพื่อสนับสนุนการใช้งานกับโปรแกรมที่ พัฒนาขึ้นมาใหม่ๆ