หัวข้อกังหัน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หัวข้อกังหัน by Mind Map: หัวข้อกังหัน

1. กลไก

1.1. มอเตอร์เกียร์ทด

1.1.1. ระบบกำลัง

1.1.1.1. คืออัตราส่วนของผลคูณที่มีความแรงของเฟือง เฟืองจะมีการสับเปลียนเฟือง โดยการเปลี่ยนเกียร์ต่ำและสูง ส่วนเกียร์ต่ำจะมีจะเป็นเฟืองใหญ่และหมุนเร็วกว่า

1.1.2. โรเตอร์

1.1.2.1. ขั้วแม่เหล็ก

1.1.2.1.1. ส่วนที่สร้างสนามแม่เหล็กให้ผ่านแกนเหล็กอาเมเจอร์ขั้วแม่เหล็กของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง

1.1.2.1.2. โคลงเครื่อง

1.1.2.1.3. แกนของขั้วแม่เหล็กและโปลชู

1.1.2.1.4. ขดลวดแม่เหล็ก

1.1.2.2. คอมมิวเตอร์

1.1.2.2.1. เป็นส่วนที่ทำหน้าที่เรียงกระแสเปลี่ยนกระแสสลับเป็นกรแสตรงในขดลวดอาร์เมเจอร์

1.1.2.3. อาร์เมเจอร์

1.1.2.3.1. ขอดลวดอาเมเจอร์

1.1.2.3.2. ส่วนที่หมุนตัดกับสนามแม่เหล็กเพ่อผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า โครงสร้างของอาเมเจอร์ประกอบด้วยแกนเหล็กอาเมเจอร์และขดลวดอาเมเจอร์

1.1.2.3.3. แกนเหล็กอาเมเจอร์

1.1.2.4. แปรงถ่านและชุดยึดแปรงถ่าน

1.1.2.4.1. ทำหน้าที่ยึดแปรงถ่านให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม มีสปริงกดแปรงถ่านให้สัมผัสกับผิวหน้าของคอมมิวเตเตอร์ตลอดเวลา

1.1.3. กระบวนการทำงาน

1.1.3.1. การทำงานปกติของมอเตอร์ไฟฟ้าส่วนใหญ่เกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่างสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กในตัวมอเตอร์ และสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสในขดลวดทำให้เกิดแรงดูดและแรงผลักของสนามแม่เหล็กทั้งสอง

1.2. สายพาน

1.2.1. ทำหน้าที่เชื่อมล้อมอเตอร์กับกังหัน

1.3. ล้อpulley

1.3.1. สายพานเชื่อมมอร็เตอร์กับตัวกังหัน มอร์เตอร์หมุนหมุนขับเคลื่อนวงล้อ

1.4. สายไฟ

1.4.1. เชื่อมต่อไฟจากโซลาร์เซลล์มาที่มอร์เตอร์

2. Solar cell

2.1. หลักการทำงาน

2.1.1. ในสภาวะปกติอิเล็กตรอนจะคงสภาวะไว้ไม่เคลื่อนไหว แต่เมื่อมีแสงมาตกกระทบพลังงานจะผลักอิเล็กตรอนให้เคลื่อนที่ผ่านชั้นจังกชั่นซึ่งอยู่ระหว่างกลางได้ ถ้าเราต่อวงจรระหว่างเอ็นไทป์กับพีไทป์เข้าด้วยกันจะทำให้เกิดการไหลของอิเล็คตรอนเกิดขึ้นได้

2.2. ประเภท

2.2.1. เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากซิลิคอน ชนิดผลึกเดี่ยว

2.2.1.1. ลักษณะเป็นแผ่นซิลิคอนแข็งและบางมา

2.2.2. เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำอื่นๆ

2.2.2.1. เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทำจากแกลเลี่ยม อาร์เซไนด์ จะให้ประสิทธิภาพสูงถึง 20-25%

2.2.2.2. แกลเลี่ยม อาร์เซไนด์, แคดเมียม เทลเลอไรด์ และคอปเปอร์ อินเดียม ไดเซเลไนด์

2.2.3. Amorphous silicon solar cell

2.2.3.1. ลักษณะเป็นฟิล์มบางเพียง 0.5 ไมครอน (0.0005 มม.) น้ำหนักเบามาก และประสิทธิภาพเพียง 5-10%

2.3. ประกอบ

2.3.1. P type

2.3.1.1. คือแผ่นซิลิคอน ที่ผ่านกระบวนการ โดปปิ้งด้วยสารโบรอน ทำให้โครงสร้างของอะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน ( โฮล ) เมื่อได้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์ จะมีคุณสมบัติเป็นตัวรับ อิเล็กตรอน

2.3.2. N type

2.3.2.1. คือแผ่นซิลิคอน ที่ผ่านกระบวนการ โดปปิ้งด้วยสารฟอสฟอรัส ทำให้มีคุณสมบัติเป็นตัวส่ง อิเล็กตรอน เมื่อได้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์ที่

2.3.3. Pn junction

2.3.3.1. รอยต่อนี้จะเป็นขอบเขตระหว่างสารกึ่งตัวนำที่ ยับยั้งการไหลของกระแสอย่างรุนแรง โดยทำให้อิเล็กตรอนและโฮลในสารกึ่งตัวนำกระจัดกระจาย

2.3.3.2. สนามแม่เหล็ก

2.3.3.2.1. อำนาจแม่เหล็กที่เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านในวัตถุทำสนามแม่เหล็กรอบๆ

2.4. ไฟฟ้ากระแสตรง

2.4.1. เป็นไฟฟ้ากระแสที่มีทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าไปในทิศทางเดียวกันเป็นวงจร

3. โครงสร้าง

3.1. ลอยน้ำ

3.1.1. สูตร

3.1.1.1. แรงลอยตัว

3.1.2. ทุนลอย

3.1.2.1. ช้เป็นทุ่นเพื่อทำให้กังหันลอยน้ำได้

3.2. โครงสร้างฐาน

3.2.1. ท่อpvc

3.2.1.1. หน้าที่เป็นโครงของกังหันและเป็นฐานของกังหัน

3.2.2. ข้อต่อสามทาง

3.2.2.1. หน้าที่ตัวเชื่อมขาตั้งโซลาร์เซลล์

3.2.3. ข้องอ

3.2.3.1. หน้าที่ตัวข้อต่อโครงฐาน

3.2.4. ท่ออุด

3.2.4.1. หน้าที่ใช้ทำแขนกังหันที่เชื่อมเพลากับกล่องตักน้ำ

3.2.5. ท่ออ่อน

3.2.5.1. หน้าที่กันสายไฟไม่ให้โดนน้ำ (ฝน)

3.2.6. ขาตั้งsolar cell

3.2.6.1. หน้าที่ตั้งแผงsolar cellให้ได้องศาและรับแสงอาทิตย์ได้ตามที่เราต้องการ

3.2.7. ตัวยึด solar cell

3.2.7.1. หน้าที่ยึดแผงโซลาร์เซลล์กับขาตั้ง

3.2.8. แผ่นอะคลิลิก

3.2.8.1. หน้าที่แผ่นฐานรองมอเตอร์ที่อยู่ใต้แผงโซลาร์เซลล์

3.2.9. ตลับลูกปืน

3.2.9.1. หน้าที่ยึดเพลากับแกนของทุ่นลอย

3.3. คำนวณปริมาณไฟฟ้าที่มใช้

3.3.1. v=ir

3.3.2. P=IV