การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสืบค้นสารสนเทศและความรู้ by Mind Map: การสืบค้นสารสนเทศและความรู้

1. 5.7 ควรใช้คำที่หลากหลายและไม่ควรใช้คำที่ค้นหาเกิน 32 คำซึ่งการใช้คำที่ หลากหลายเพื่อค้นหาจะช่วยให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่า

2. 3.4 BEFORE หมายถึงให้คำค้นอยู่ห่างกันในระยะ 25 คำ โดยต้องอยู่ตามลำดับที่ กำหนดเท่านั้น

3. การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์

3.1. ความหมาย

3.1.1. ฐานข้อมูลออนไลน์ เป็นแหล่งสารสนเทศที่มีขนาดใหญ่และขอบเขตกว้างขวาง

3.1.2. นอกจากนี้ผู้ใช้บริการยังสามารถดาวโหลด หรือพิมพ์ข้อมูลได้ทันที

3.2. ประเภทของฐานข้อมูล

3.2.1. ฐานข้อมูลทดลองใช้ฐานข้อมูลลักษณะนี้เป็นฐานข้อมูลที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนำมาทดลองให้บริการกับผู้ใช้ก่อน ก่อนที่ศูนย์ สารสนเทศจะตัดสินใจซื้ อหรือสมัครเป็นสมาชิกของฐานข้อมูลนั้นจริงๆ

4. การสืบค้นสารสนเทศบอินเทอร์เน็ต

4.1. อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งรวบรวมเว็บไซต์ซึ่งเก็บข้อมูลต่างๆไว้มากมาย แต่ละเว็บไซต์จะมีชื่อโดเมน (Domain name) ที่ไม่ซ้ ากัน และมีมากกว่า 45 ล้านชื่อในโลก โดยเรียกคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บ และคอยให้บริการข้อมูลของเว็บไซต์ว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์(Web Server)

4.1.1. 1. นามานุกรม (Web Directories) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่รวบรวมสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต และคัดแยกสารสนเทศเหล่านั้นออกเป็นกลุ่ม ตามสาขาวิชาหรือตามหลักเกณฑ์ที่ผู้จัดทำกำหนดขึ้น

4.1.2. 2. เครื่องมือสืบค้น (Search engine) เป็นเครื่องมือในการสืบค้นที่อาศัยการทำงานของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น โดยแต่ละตัวได้รับการพัฒนาจากบุคคลหลายๆ หน่วยงาน มีผลให้ Search Engineแต่ละตัวมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป

4.1.3. ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศบอกรับเป็นสมาชิกคือฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ บอกรับหรือซื้อฐานข้อมูลนั้นมาให้บริการกับผู้ใช้

5. เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต

5.1. 1. เทคนิคตรรกบูลลีน แบ่งได้ออกเป็น3 ลักษณะคือ

5.1.1. 1.1 การใช้ And, Or, Not ประกอบเป็นประโยคการค้น

5.1.2. 1.2 การใช้เทคนิคตรรกบูลลีนจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ว่าต้องการ สืบค้นการที่เกี่ยวข้องกับค าค้นอย่างไร

5.1.3. 1.3 การใช้เครื่องหมาย + (Plus) หรือ – (Minus) ก าหนดหน้าค าค้นที่ต้องการ เครื่องหมาย + หมายถึงในผลการค้นต้องมีคำที่กำหนดนั้น และเครื่องหมาย – หมายถึงไม่ต้องการให้พบคำนั้นในผลการสืบค้น

5.2. 2. เทคนิคการตัดคำสามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ

5.2.1. 2.1 การใช้เครื่อง กลไกส่วนใหญ่ใช้เครื่องหมาย * (asterisk) แทนการตัดคำส่วน ใหญ่เป็นการตัดท้ายคำค้นที่ต้องการ

5.2.2. 2.2 การสืบค้นในลักษณะของ Stemming หมายถึง การสืบค้นจากรากคำ

5.3. 3. เทคนิคการใช้คำใกล้เคียง โดยใช้คำว่า ADJ, NEAR, FAR และ BEFORE ประกอบ เป็นประโยคการค้น

5.3.1. 3.1 ADJ หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้กัน สลับลำดับคำได้

5.3.2. 3.2 NEAR หมายถึง ให้คำที่ค้นอยู่ใกล้เคียงกันในระยะ 25 คำ สลับที่ได้

5.3.3. 3.3 FAR หมายถึง ให้คำค้นอยู่ห่างกันได้ 25 คำ หรือมากกว่านั้น

5.4. 4. เทคนิคการใช้รหัสกำกับคำค้น สามารถทำได้ 2 ลักษณะได้แก

5.4.1. 4.1 สืบค้นจากเมนูทางเลือก (Drop down menu) ซึ่งกลไกสืบค้นหลาย ๆ กลไก กำหนดให้ผู้สืบค้นเลือกเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้นได้จากเมนูทางเลือก โดยให้ เลือกได้จากภาษา เขตข้อมูลชื่อ URL ช่วงปีที่ต้องการ Domain ของแหล่ง สารสนเทศ

5.4.2. 4.2 สืบค้นโดยใช้เขตข้อมูลกำกับลงในประโยคการค้น เช่น title:nba หมายถึงให้ ค้นเพจที่มีคำว่า nba ปรากฏในชื่อเรื่อง before:30/9/99 หมายถึง ให้สืบค้น เอกสารที่มีการจัดทำก่อนวันที่ 30 ก.ย. 1999 เป็นต้น กลไกที่มีลักษณะการ สืบค้นแบบนี้ ได้แก่ Hotbot

5.5. 5.1 เทคนิคการค้นด้วยเครื่องหมายคำพูด “…..” (Exact phrased search)

5.6. 5. เทคนิคอื่นๆ ได้แก

5.6.1. 5.2 เทคนิคการค้นหาคำพ้องความหมาย (Synonyms) ด้วยเครื่องหมาย ~

5.6.2. 5.3 เทคนิคการค้นกลุ่มคำหรือคำที่ไม่แน่ใจด้วยเครื่องหมาย * (Wildcard)

5.6.3. 5.4 เทคนิคค้นหาช่วงชุดของตัวเลข (Number range) ด้วยเครื่องหมาย ..

5.6.4. 5.5 เทคนิคการหานิยามหรือความหมายของคำ (Definition) โดยใช้คำว่า define: ตามด้วยค าที่ต้องการทราบความหมาย

5.7. 5.6 เทคนิคการกรองสิ่งที่ค้นหา (SafeSearch Filtering) เทคนิคนี้จะมีใช้สำหรับ Search Engine บางตัว

6. ความหมาย

6.1. การค้นหาฃ้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ โดยอาศัยเครื่องมือช่วยค้นเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ

7. การสืบค้นด้วยOPAC

7.1. เป็นเครื่องมือที่บันทึกรายละเอียดข้อมูลบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศทีมีในห้องสมุดไว้ในฐานข้อมูลบรรณานุกรม

7.2. ผู้สืบค้นมีทางเลือกในการสืบค้นหลายทาง เช่น ชื่อผูแต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่ิอง คำสำคัญ