ไฟฟ้าสถิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ไฟฟ้าสถิต by Mind Map: ไฟฟ้าสถิต

1. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

1.1. ที่ผิว E มีค่ามากที่สุด

1.2. ข้างในทรงกลม E = 0

2. แรงไฟฟ้า/แรงคูลอมบ์

2.1. แรงดูด ประจุต่างชนิดกัน

2.2. แรงผลัก ประจุชนิดเดียวกัน

3. กฏของคูลอมบ์

3.1. k=ค่าคงตัวของคูลอมบ์

3.2. Q1=ประจุตัวที่ 1 หน่วย c

3.3. Q2=ประจุตัวที่ 2 หน่วย c

3.4. "สนใจประจุตัวไหน ตัวนั้นโดน"

3.5. R=ระยะระหว่างประจุ หน่วย m

4. สนามไฟฟ้า (E)

4.1. บริเวณที่มีสนามไฟฟ้า

4.1.1. F≠0 ; มีสนามไฟฟ้า

4.1.2. F=0 ; ไม่มีสนามไฟฟ้า

4.2. E=F/q หน่วย N/C

4.2.1. q=ประจุทดสอบสนามไฟฟ้า

4.2.2. Q=ประจุที่ปล่อยสนามไฟฟ้า

4.2.3. "สนใจประจุตัวไหน ให้ปิดประจุตัวนั้น"

5. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

5.1. ที่ผิว V มีค่ามากที่สุดและคงที่

5.2. ข้างในทรงกลม V มีค่ามากที่สุดและคงที่

6. งานทางไฟฟ้า

6.1. คือ งานในการลากประจุ q จาก A ไป B

6.2. เวลาแทนสูตรต้องคิดเครื่องหมายด้วย

7. ประจุไฟฟ้า

7.1. ประจุบวก

7.2. ประจุลบ

8. สภาพไฟฟ้า

8.1. 1.เป็นลบ(สูญเสียประจุบวก)

8.2. 2.เป็นบวก(สูญเสียประจุลบ)

8.3. 3.เป็นกลางทางไฟฟ้า

9. สนามไฟฟ้าฟ้าจากแผ่นตัวนำคู่ขนาน

9.1. สนามไฟฟ้าพุ่งจาก +ไปหา -

9.2. สนามไฟฟ้าจากแผ่นโลหะคู่ขนานเป็นสนามไฟฟ้าฟ้าสม่ำเสมอ

9.3. เส้นสมศักย์ คือ เส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน

10. ศักย์ไฟฟ้า

10.1. V=kq/r มีประจุกี่ตัวเอามารวมกันให้หมด (รวมแบบสเกลาร์)

10.2. เวลาแทนค่าต้องคิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า

11. การรวมตัวเก็บประจุ

11.1. ต่อแบบอนุกรม

11.1.1. Qรวม= Q1=Q2=Q3

11.1.2. Vรวม=V1+V2+V3

11.1.3. 1/Cรวม= C1+C2+C3

11.2. ต่อแบบขนาน

11.2.1. Qรวม=Q1+Q2+Q3

11.2.2. Vรวม=V1=V2=V3

11.2.3. Cรวม=C1+C2+C3

11.3. การตำนวณหาประจุในตัวเก็บประจุ

11.3.1. 1.ประจุจะถ่ายเทจนศักย์ไฟฟ้า(V)เท่ากัน

11.3.2. 2.ใช้สูตร C=Q/V

12. แรงระหว่างประจุ (F)

12.1. เขียนแรงที่กระทำกับประจุ (เหมือนผลัก ต่างดูด)

12.2. รวมแรงแบบเวกเตอร์ ไม่คิดเครื่องหมาย