🧐ไฟฟ้าสถิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
🧐ไฟฟ้าสถิต by Mind Map: 🧐ไฟฟ้าสถิต

1. ประจุไฟฟ้ามี2ชนิด

1.1. ประจุบวก(+) = 1.67×10ยกกำลัง-27 คือโปรตอน

1.2. ประจุ(-) = 9.1×10ยกกำลัง-31 คือ อิเล็กตรอน

2. สภาพไฟฟ้า

2.1. เป็นกลางทางไฟฟ้า

2.2. สภาพไฟฟ้าเป็นบวก(สูญเสียประจุลบ)=มีบวกเกิน

2.3. สภาพไฟฟ้าเป็นลบ(สูญเสียประจุบวก)=มีลบเกิน

3. แรงไฟฟ้า

3.1. แรงดูด=ประจุต่างชนิดกันจะดูดเข้าหากัน

3.2. แรงผลัก=ประจุชนิดเดียวกันจะผลักออกจากกัน

4. สนามไฟฟ้า

4.1. คือบริเวณโดยรอบที่มีแรงไฟฟ้า(เวกเตอร์)

4.2. "สนใจประจุไหนให้ปิดประจุตัวนั้น"

4.2.1. ประจุ(+)=ประจุวิ่งออก

4.2.2. ประจุ(-)=ประจุวิ่งเข้า

4.3. ตัวแปล

4.3.1. E=สนามไฟฟ้าที่เกิดจากประจุ(c)

4.3.2. F=แรงทางไฟฟ้า(N)

4.3.3. k=ค่าของคูลอมบ์=9×10ยกกำลัง9

4.3.4. q=ประจุทดสอบสนาม

4.3.5. Q=ประจุที่ปล่อยบนสนาม(c)

4.4. สูตร

4.4.1. E=F/qหน่วย(N/c)ใช้เมี่อรู้ประจุสนาม

4.4.2. E=kQ/R^2(N/C)ใช้เมื่อรู้ประจุที่ปล่อยบนสนาม

4.5. การหาทิศทางของสนามไฟฟ้า

4.5.1. เมื่อเวกเตอร์สวนทางกัน

4.5.1.1. Eที่เราสนใจ=Eมาก-Eน้อย

4.5.1.2. เช่นEก=Eข-Eค ในสูตร

4.5.1.3. Eก=kQข/Rกข^2-kQค/Rกค^2

4.5.2. เมื่อเวกเตอร์ไปทิศทางเดียวกัน

4.5.2.1. Eที่เราสนใจ=Eมาก+Eน้อย

4.5.2.2. เช่นEก=Eข+Eค ในสูตร

4.5.2.3. Eก=kQข/Rกข^2+kQค/Rกค^2

4.6. 🤔ไม่คิดประจุ

5. สนามไฟฟ้าจากแผ่นตัวนำคู่ขนาน

5.1. ประจุ(+)—E—ประจุ(-) +————— - -— +—— d —— - — | | | | |________|I_________| (+)..Δv..(-)

5.2. ตัวแปล

5.2.1. d=ระยะห่างระหว่างความต่างศักย์(m)

5.2.2. E=สนามไฟฟ้า(N/C)หรือ(v/m)

5.2.3. v=ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตัวนำคู่ขนาน(v)

5.3. สูตร

5.3.1. E=Δv/d (N/c)หรือ(v/m)

6. สนามไฟฟ้าที่มีขนาดคงที่

6.1. ประจุ(+) ¦¦ E¦¦ประจุ(-)

6.2. ¦= เส้นสมศักย์ คือเส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันจะตั้งฉากกับสนามไฟฟ้า

6.3. ถ้าอยู่ใกล้ประจุ(+)=ศักย์สูง ถ้าอยู่ใกล้ประจุ(-)=ศักย์ต่ำ

6.4. +¦¦A¦¦ - }EA=EB , V ก็เท่ากันเพราะอยู่เส้นเดียวกัน +¦¦¦¦D - }แต่vจะมากกว่าECและEDเพราะอยู่ใกล้(+)มากกว่า +¦¦B¦C -}EDและECจะเท่ากันและVก็จะเท่ากันแต่มีศักย์ต่ำเพราะอยู่ใกล้(-)

7. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

7.1. ประจุจะอยู่ผิวนอกเท่านั้น‼️

7.1.1. E | | ––– \ | | \ สนามไฟฟ้าจะลดลงเรื่อยๆ |___ |__ \__________R(m) r

7.2. 😵สูตร

7.2.1. 🌺E=kQ/R^2(R วัดจากจุดศูนย์กลางวงกลง(r) ) 🌻E=kQ/r^2 หน่วย(N/C)

7.2.2. 🌼Ein=0

8. 🦔พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ

8.1. 🦁สูตร

8.1.1. 🐒U=1/2Qv *เป็นพลังงานเฉลี่ยเพราะ÷2

8.1.2. 🦄U=1/2Cv^2 มาจากQ=cvเลยแทนที่Qด้วยcv

8.1.3. 🐣U=1/2Q^2/C มาจากv=Q/Cแทนที่vด้วยQ/Cเมื่อรวมกันเลยเป็นQ^2

8.2. 🐦ต่อแบบผสม

8.2.1. c1 –––| |––– c3 ขนาน{----| |----| |---}อนุกรม |___|l ___| c2

8.2.2. ให้คิดแยกกันก่อน

9. 👽การต่อแบบขนาน

9.1. 🌊ประจุแยกไหล

9.2. Q1 c1 –––| |––– แบ่งไหล{ ------ | | ------ | |___|l ___| | | Q2 c2. | Qรวม |_________| l________| Qรวม. vรวม

9.2.1. 🧟‍♀สูตร

9.2.1.1. Vรวม=v1+v2

9.2.1.2. Qรวม=Q1+Q2

9.2.1.3. Cรวม=c1+c2

9.2.1.4. หาความต่างศักย์แต่ละเส้น C? =Q? /v?

9.2.1.5. 🐙สูตรลัดหาQ แต่ละตัว

9.2.1.5.1. 🔔Q1=Qรวม×c1/c1+c2 Q2=Qรวม×c2/c1+c2

10. กฎของคูลอมบ์

10.1. "สนใจตัวไหนตัวนั้นโดน"

10.2. ตัวแปล

10.2.1. k=ค่าของคูลอมบ์=9×10ยกกำลัง9

10.2.2. Q1=ประจุตัวที่1(หน่วย c)

10.2.3. Q2=ประจุตัวที่2(หน่วย c)

10.2.4. R=ระยะห่างระหว่างประจุ(หน่วยm)

10.2.5. F=แรงทางไฟฟ้า(N)

10.3. สูตร

10.3.1. F=KQ1Q2ส่วนRกำลัง2

11. การหาเวกเตอร์ของแรงคูลอมบ์

11.1. เมื่อมีประจุ2ตัว

11.1.1. ให้Q1เป็น(+)และQ2(-)

11.1.2. สนใจQ2=Q2โดนผลัก

11.1.3. เพราะเมื่อประจุทั้ง2ต่างกันจะผลักออกจากกัน

11.2. เมื่อมีประจุ3ตัว

11.2.1. ให้เทียบทีละตัวทำคลายกับประจุ2ตัว

11.2.2. "สนใจตัวไหนตัวนั้นโดน"

11.3. หาFลัพธ์จากประจุตั้งฉากกัน

11.3.1. ให้หาFลัพธ์

11.3.2. โดยลากออกมาจากจุดที่ทั้ง2บรรจบกัน

11.3.3. สูตร Fลัพธ์=√F1^2+F2^2 (^=เครื่องหมายยกกำลัง)

11.4. หาFลัพธ์จากพีทาโกรัส

11.4.1. ดูก่อนว่าสนใจตัวไหน

11.4.2. หาF1และF2ก่อนจาก F1=kQ1Q2/R^2 F2=kQ1Q2/R^2

11.4.3. จากนั้นแทนในสูตร Fลัพธ์=√F1^2+F2^2+2F1F2cosΦ

12. ศักย์ไฟฟ้า

12.1. 💫เป็นปริมาณscalr

12.2. 🙄คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า

12.3. 🤯สูตร

12.3.1. "ปิดจุดที่สนใจคิดศักย์รอบจุดนั้น"🙈

12.3.2. V=kQ/R หน่วย (v)

12.3.2.1. เช่น มีQa ,Qc ,QbสนใจQc

12.3.2.2. 🙈สนใจQcให้ปิดQcไว้

12.3.2.3. Vc=Va+Vb Vc=kQa/Ra+kQb/Rb

13. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

13.1. ประจุอยู่ผิวนอกเท่านั้น❗

13.2. 😯สูตร

13.2.1. Vin=Vผิว

13.2.2. Vผิว=kQ/r (v)

13.2.3. R วัดจากจุดศูนย์กลางวงกลง(r) รวมrด้วย

13.3. V | | ––– \ | | \ Vผิว=kQ/r |___ |__ \__________R(m) + r

14. 👷‍♀งานในการเลื่อนประจุ

14.1. 🛣งานไม่ขึ้นกับเส้นตรง

14.2. 🎢งานเท่ากันไม่เกี่ยงระยะทาง

14.3. 🕵‍♀สูตร

14.3.1. 🤕W=q(VB-VA) หน่วย (J) A-B

14.3.2. 💌ตัวแปล

14.3.2.1. VA=ศักย์ไฟฟ้าที่A

14.3.2.2. VB=ศักย์ไฟฟ้าที่B

14.3.2.3. q=ประจุที่ถูกเลื่อน (คิดประจุด้วย)

14.3.2.4. W=งานในการเลื่อนประจุ (J)

14.3.2.5. Vα =0 (vอนันต์)

14.3.3. 😲หาvจาก VA=kQ/RหรือVB=kQ/R

14.3.4. 🧐การ(+)(-)เลขชี้กำลังต้องเท่ากันแต่ไม่ต้องมารวมกัน

15. 👩‍🚒ตัวเก็บประจุ

15.1. ⚡ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟฟ้า }ทั้ง2ทำพร้อมกันไม่ได้ 🌩ทำหน้าที่จ่ายประจุไฟฟ้า

15.2. 🐢เป็นแบบเวกเตอร์

15.3. c –––| |––– | | |___|l ___| Q. v

15.3.1. 🤦‍♀สูตร

15.3.1.1. C=Q/v (F) Farad

15.3.1.2. V=Q/c

15.3.1.3. Q=cv

15.3.1.4. 😲ตัวแปล

15.3.1.4.1. C=ความจุไฟฟ้า (c/v) หรือ (F)

15.3.1.4.2. V=ความต่างศักย์ (v)

15.3.1.4.3. Q=ประจุ (C)

15.4. 🤖การต่อแบบอนุกรรม

15.4.1. 💧ประจุไม่แยกไหล

15.4.2. c1/v1/Q1. c2/v2/Q2 –––| |–––----------| |--- | | |__________|l ________| Qรวม vรวม

15.4.2.1. 🕵‍♀สูตร

15.4.2.1.1. Qรวม=Q1=Q2

15.4.2.1.2. Vรวม=vย่อย(+)กัน

15.4.2.1.3. 🥑1/cรวม=1/c1+1/c2

15.4.2.1.4. 🥝cรวม=Qรวม/Vรวม