1. พลังงานสะสมในตัวประจุ
1.1. สูตร C=Q/V
1.1.1. C=ความจุไฟฟ้า หน่วย F Q=ประจุไฟฟ้า หน่วย C V=ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย V
2. ตัวเก็บประจุ
2.1. ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้าและจ่ายประจุไฟฟ้า
2.2. สูตร C=Q/V หน่วยC/V ➡F(Farad)
2.3. แบบอนุกรม(ประจุไฟฟ้าไม่แยกไหล)
2.3.1. ▶1/C=1/C1+1/C2
2.4. แบบขนาน(ประจุไฟฟ้าแยกไหล)
2.4.1. ▶Cรวม=C1+C2
3. งานในการเลื่อนประจุ
3.1. สูตร Wa➡b=q(Vb-Va) หน่วย J
3.1.1. q=ประจุที่ถูกเลื่อน (คิด➕,➖) Va=ศักย์ไฟฟ้าที่ a Vb=ศักย์ไฟฟ้าที่ b Vb-Va=ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างaกับb
4. ศักย์ไฟฟ้า
4.1. สูตร V=kQ/R หน่วย V (เป็นปริมาณScalar)
4.2. *คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า * ปิดจุดที่สนใจ คิดศักย์รอบจุดนั้น
4.3. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ
4.3.1. Vผิว=kQ/r
4.3.2. วัดจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมตัวนำ
4.3.2.1. Vin=Vผิว
5. กฎของคูลอมบ์
5.1. สูตร=kQ1Q2/R2
5.1.1. Q1=ประจุตัวที่ 1 หน่วย c
5.1.2. Q2=ประจุตัวที่ 2 หน่วย c
5.1.3. R=ระยะห่างระหว่างประจุ หน่วย m
5.1.4. k=ค่าตัวของคูลอมบ์9×10ยกกำลัง9N.mยกกำลัง2/Cยกกำลัง2
5.2. 💢สนใจประจุไหนตัวนั้นโดน
6. สนามไฟฟ้า
6.1. สูตร E=F/q หน่วยN/C
6.1.1. สูตร E=kQ/R2
6.1.1.1. E=สนามไฟฟ้า(NK) F=แรงที่กระทำ(N) Q=ประจุที่ปล่อยสนามไฟฟ้า(C) q=ประจุทดสอบสนามไฟฟ้า(C) K=9×10ยกกำลัง9 N.mยกกำลัง2/Cยกกำลัง2 R เท่ากับระยะห่างจากประจุ(m)
6.2. 💥สนใจประจุตัวไหน ให้ปิดประจุตัวนั้น
6.3. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ
6.3.1. กำหนดให้ทรงกลมตัวนำมีประจุ+Q
6.3.1.1. ประจุ+Q กระจายอยู่บนผิวนอก➡เท่านั้น
6.3.1.2. •สูตร E=kQ/R2
6.4. สนามไฟฟ้าจากแผ่นตัวคู่ขนาน
7. ประจุไฟฟ้า
7.1. เป็นตัวการที่ทำให้เกิดอำนาจไฟฟ้า
7.2. ประจุไฟฟ้ามี 2 ชนิด
7.2.1. ➕ ประจุบวก
7.2.1.1. มีประจุ+1.6×10ยกกำลัง-19C มวล1.67×10ยกกำลัง-27kg
7.2.2. ➖ ประจุลบ
7.2.2.1. มีประจุ-1.6×10ยกกำลัง-19C มวล9.1×10ยกกำลัง-31kg
7.3. สภาพไฟฟ้า
7.3.1. 1.เป็นกลางทางไฟฟ้า
7.3.2. เป็นลบ (สูญเสียประจุบวก)
7.3.3. เป็นบวก (สูญเสียประจุลบ)
7.4. แรงไฟฟ้า แรงคูลอมบ์
7.4.1. ประจุไฟฟ้าต่างชนิดกัน "จะดูดกัน"
7.4.1.1. ➕ ➡⬅ ➖
7.4.2. ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน "จะผลักกัน"
7.4.2.1. ➕⬅➡➕ ➖⬅➡➖